สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
จากแหล่งเรียนรู้โดยตรง ต้องเชื่อมต่ออินเตอร์เนตเท่านั้น
Advertisements

ยุทธศาสตร์ชาติ เพื่อการพัฒนาที่อยู่อาศัย
ระบบส่งเสริมการเกษตร
ประเด็นเน้นหนัก โครงการส่งเสริมและพัฒนาวิสาหกิจชุมชน 2550
ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
โดย โครงการช่วยกันสานเพื่อส่งเสริมคุณค่าผู้สูงอายุ
วิสัยทัศน์จังหวัดพะเยา “เมืองเกษตรปลอดภัย การท่องเที่ยวที่ยั่งยืน”
โครงการโทรทัศน์ครู สร้างครูมืออาชีพ ด้วยมืออาชีพ
(1) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
(1) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
โครงการ “การวางแผนจัดการแบบมีส่วนร่วมเพื่อความมั่นคงด้านน้ำในพื้นที่ จังหวัดสมุทรสงครามโดยใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์บนเว็บ” สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
( สมุทรสงคราม สมุทรสาคร เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ )
การทำรายงานสรุปคุณภาพน้ำประจำปี
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
บรรยายพิเศษ การดำเนินงาน กศน.ตำบล
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
รายงานผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๔
การพัฒนากลุ่มแม่บ้านเกษตรกร เป็นเกษตรกรปราดเปรื่อง (Smart Farmer)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
ประชุมเพื่อประสานแผน การทำงาน การกำหนดเป้าหมาย และการติดตามกำกับงาน
ผังการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีเพชร
กลุ่มที่ 4 กลุ่มจังหวัดที่ 8.1 สุราษฎร์ธานี ชุมพร ระนอง
กลุ่มที่ 2 กลุ่มจังหวัดที่ 3.1 (นนทบุรี พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี อ่างทอง) กลุ่มจังหวัดที่ 3.2 (ชัยนาท ลพบุรี สระบุรี สิงห์บุรี) กลุ่มจังหวัดที่ 4.1 (กาญจนบุรี
ศักยภาพ ผัก ผลไม้ เศรษฐกิจภาคใต้ ปัญหาและอุปสรรคของการผลิต การจำหน่ายทั้งในและส่งออกต่างประเทศ ในมุมมองของภาครัฐ.
การจัดการที่ดินทำกินและที่อยู่อาศัย โดยขบวนองค์กรชุมชนและท้องถิ่น
ตัวอย่าง ตารางกรอบแผนการบริหารจัดการและพัฒนาลุ่มน้ำ แบบบูรณาการ
คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
โครงการจัดทำแผนการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำอย่างเป็นระบบ (การจัดทำฐานข้อมูลและสารสนเทศภูมิศาสตร์ ลุ่มน้ำสาขาหรือลุ่มน้ำย่อยนำร่อง)
การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “ โครงการพัฒนาศักยภาพและเพิ่มประสิทธิภาพบุคลากร สนับสนุนการติดตามประเมินผลการดำเนินงานของกรมทรัพยากรน้ำ ”
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
กลุ่มที่ 13 ประกอบด้วยกลุ่มบุคคลที่มาจากหลายเขต เช่น เขต 1, 2, 3, 10, 15 มีทั้งหมด 3 ประเด็นด้วยกัน คือ 1. สรุปกระบวนการและข้อเสนอแนะการนิเทศ รพ.สต. รอบที่
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนลักษณะสำคัญขององค์กร :
ระเบียบวาระการเตรียมทีมนิเทศงาน ปี 2557
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
“โครงการสร้างสุขระดับจังหวัด….” จากแผนงานสร้างเสริมสุขภาพจิต(สสส.)
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานระดับกระทรวงสาธารณสุข ปี 2557
หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด.
สำนักงานเกษตรอำเภอแก่งกระจาน
มุมมองการพัฒนาและขับเคลื่อน งานกองทุนฯอย่างยั่งยืน
โครงการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้แบบมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
การวิเคราะห์ประเด็น ปัญหาการเฝ้าระวังใน พื้นที่ นายมนัสพร ภมรบุตร นักพัฒนาสังคมชำนาญการ สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของ มนุษย์จังหวัดเชียงใหม่
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
ที่ดิน 200 ไร่ จังหวัดอุดรธานี ของคุณเปรมศักดิ์ ภู่ม่วง
แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2550 – 2552) องค์การบริหารส่วนตำบลทางเกวียน
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
การตรวจราชการและนิเทศงานฯ
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
การศึกษาวิจัย เรื่อง ผู้วิจัย นายอภิวิชญ์ ปีนัง
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
ภายใต้กรอบแนวคิดการพัฒนาระบบข้อมูลสนับสนุนการตัดสินใจ
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
ข้อเสนอโครงการ ภายใต้กรอบแนวคิดการ พัฒนาระบบข้อมูลสนับสนุน การตัดสินใจ จัดทำโดย หน่วยงาน หน่วยงาน การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่ง ประเทศไทย.
บทสรุปจากการประชุม เครือข่ายระบบสารสนเทศน้ำจังหวัด
การดำเนินงาน กศน.ตำบลให้ประสบความสำเร็จ
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
“สังคมคุณภาพเพื่อผู้สูงอายุ”
แผนที่ยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ การวางแผนจัดการแบบมีส่วนร่วมเพื่อความมั่นคงด้านน้ำ ในพื้นที่จังหวัดนครปฐมและจังหวัดสมุทรสงคราม โดยใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์บนเว็บ

เนื้อหาการนำเสนอ บทนำ - วัตถุประสงค์ พื้นที่ศึกษา การดำเนินงาน การวางแผนบริหารจัดการน้ำจังหวัดนครปฐม การวางแผนบริหารจัดการน้ำจังหวัดสมุทรสงคราม ประเด็นยุทธศาสตร์การบริหารจัดการน้ำ เครื่องมือและข้อมูลสำหรับการวางแผนบริหารจัดการน้ำ

บริบทของพื้นที่

กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนล่าง กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนล่าง ประกอบด้วย จ.กาญจนบุรี จ.สุพรรณบุรี จ.นครปฐม จ.ราชบุรี จ.สมุทรสาคร จ.สมุทรสงคราม จ.เพชรบุรี จ.ประจวบคีรีขันธ์

นครปฐม ระบบแหล่งน้ำ สมุทรสงคราม

โครงสร้างของคณะทำงาน จังหวัดสมุทรสงคราม จังหวัดนครปฐม

จังหวัดนครปฐม

จังหวัดนครปฐม

สภาพพื้นที่ เศรษฐกิจ-สังคม ตั้งอยู่ในภาคกลาง ห่างจาก กทม.ประมาณ 60 กม. มีขนาดประมาณ 2,168 ตร.กม. แบ่งเขตการปกครองออกเป็น 7 อำเภอ 106 ตำบล 930 หมู่บ้าน โครงข่ายถนนครอบคลุมทั้งจังหวัด พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่มเหมาะกับการทำนา เป็นที่ตั้งของสถาบันอุดมศึกษาจำนวน 7 แห่ง ประชากร ~ 830,970 คน (ปี 2550) ประชากรมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น เขตเทศบาลนครนครปฐม แนวถนนปิ่นเกล้า-นครชัยศรี เขต อ.สามพราน (อุตสาหกรรม) รายได้เฉลี่ย139,858 บาท/คน/ปี (อยู่ในลำดับที่ 13 ของประเทศ) ผลิตภัณฑ์มวลรวมของจังหวัด (GPP) เท่ากับ 133,992 ล้านบาท (มูลค่าจากผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม~50%) แหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญได้แก่ พระปฐมเจดีย์ พระราชวังสนามจันทร์ ตลาดน้ำดอนหวาย เป็นต้น

ความต้องการน้ำ

ความต้องการน้ำ อุปโภค-บริโภค อุตสาหกรรม เกษตรกรรม

กระบวนการวางแผนจัดการทรัพยากรน้ำ จังหวัดนครปฐม

กิจกรรมระดับจังหวัด

การประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำแผนน้ำจังหวัด

การประชุมวิชาการ ”ฐานคน ฐานทรัพยากร ฐานคิด”

พื้นที่ตำบลนำร่อง 5 พื้นที่ ได้แก่ เทศบาลตำบลบางหลวง อำเภอบางเลน ตำบลบางระกำ อำเภอบางเลน ตำบลบางช้าง อำเภอสามพราน ตำบลไร่ขิง อำเภอสามพราน ตำบลวังตะกู อำเภอเมืองนครปฐม

กิจกรรมระดับตำบล

การวิเคราะห์ SWOT ด้านน้ำของตำบล

ตัวอย่าง SWOT ด้านน้ำของ ต.บางหลวง

ตัวอย่างโครงการด้านน้ำของ ต.บางหลวง

ตัวอย่างโครงการด้านน้ำของ ต.บางหลวง โครงการสำรวจและจัดทำแผนที่ ระบบประปา สำรวจข้อมูลตำแหน่งที่ตั้งระบบ ผลิตประปาและแนวท่อประปา ใช้เป็นข้อมูลช่วยในการบริหาร จัดการ ซ่อมบำรุงระบบและ วางแผนขยายพื้นที่การให้บริการ น้ำประปาในอนาคต โครงการสำรวจและจัดทำแผนที่ จุดทิ้งน้ำเสีย สำรวจข้อมูลแนวท่อน้ำทิ้งและจุด ทิ้งน้ำเสียด้วย GPS ใช้เป็นแนวทางการจัดสร้างระบบ ท่อรวบรวมน้ำทิ้งจากชุมชนและ ระบบบำบัดน้ำเสียรวม

ขั้นตอนสร้างการมีส่วนร่วม

ผลจากการสร้างกระบวนการมีส่วนร่วม (เวทีถอดบทเรียน) การสร้างความเข้าใจบทบาทของผู้ร่วมโครงการวิจัย  พัฒนา ศักยภาพผู้ร่วมวิจัยให้เกิดการเรียนรู้ที่จะมองสถานการณ์ให้รอบด้าน จนเห็นภาพความเชื่อมโยงของปัญหาในพื้นที่ การวิเคราะห์ SWOT  ชี้ประเด็นด้านน้ำในพื้นที่ได้ชัดเจนขึ้น การจัดเวทีเครือข่ายสัญจร  ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ต่างๆ ร่วมกัน ทำให้เกิดความรู้สึกร่วมเป็นเจ้าของข้อมูลในพื้นที่ เจ้าของพื้นที่มีความรู้สึกที่ดีที่มีบุคคลภายนอกพื้นที่ร่วมให้ความสำคัญใน การมองภาพสถานการณ์และปัญหาด้านน้ำในพื้นที่ของตนเอง แต่ละพื้นที่มีความกระตือรือร้นที่จะผลักดันให้เกิดการพัฒนาแผนการ จัดการน้ำ และมีแรงขับเคลื่อนในการผลักดันจากแผนสู่การปฏิบัติงาน

แผนบริหารจัดการทรัพยากรน้ำจังหวัดนครปฐม ประเด็นยุทธศาสตร์มี 4 ประเด็น การพัฒนาทรัพยากรน้ำอย่างสมดุล การอนุรักษ์ทรัพยากรน้ำและคุณภาพน้ำ การป้องกันและบรรเทาพิบัติภัย การพัฒนาระบบการบริหารจัดการน้ำ

โครงการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ แยกตามประเด็นยุทธศาสตร์

กลุ่มโครงการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ กลุ่มที่ 1 โครงการศึกษาหรือทำข้อมูลเพื่อใช้ในการตัดสินใจ (เชิงข้อมูล) มีจำนวน 5 โครงการ กลุ่มที่ 2 โครงการที่รู้จุดปัญหาอยู่แล้ว สามารถแก้ไขได้เมื่อมีงบประมาณ (เชิงเทคนิค) มีจำนวน 15 โครงการ กลุ่มที่ 3 โครงการที่ต้องอาศัยกระบวนการทางสังคม และทำอย่างต่อเนื่องตลอดไป (เชิงสังคม) มีจำนวน 32 โครงการ