กลุ่ม ๕.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
Advertisements

การวิเคราะห์และใช้รหัส ICD ให้ได้ผลประโยชน์สูงสุด
ระบบจัดการผู้ป่วยนอกสำหรับโรงพยาบาล
การประเมินการใช้ยา Nimesulide (Nidol)
ประเมินข้อมูลการใช้ยา
โปรแกรมรหัสข้อมูลสุขภาพด้านการแพทย์แผนไทย
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
รายงานบาดเจ็บอุบัติเหตุจราจร ปี 2551
รายงานอุบัติเหตุขนส่ง ปี 2553
โรคพิษสุนัขบ้า เป็นโรคที่พบได้ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วย น้ำนมทุกชนิดและติดต่อถึงคน ประเทศไทยมีคนป่วยตายเป็นอันดับต้นๆ 3 รายแรกของโลก โรคพิษสุนัขบ้า.
การจัดเก็บข้อมูลผู้ป่วย (1)
Pattern of injury in child fatalities resulting from child abuse
ACCURACY IN DIAGNOSIS ACUTE APPENDICITIS IN BUDDHACHINNARAJ HOSPITAL
ความชุกของการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบซีในผู้บริจาคโลหิตในจังหวัดพิษณุโลก
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการติดเชื้อของแผลผ่าตัดในผู้ป่วยที่มาใช้บริการโดยการผ่าตัด ที่ห้องผ่าตัดใหญ่ รพ. พุทธชินราช โดย นสพ. ณัฐกานต์ ตาบุตรวงศ์
งานวิจัยทางคลินิก เรื่อง : ความน่าเชื่อถือของระดับ Serum PSA ในการตรวจหา มะเร็งต่อมลูกหมากเปรียบเทียบกับผลการตรวจชิ้นเนื้อ ต่อมลูกหมาก ( PROSTATE.
งานวิจัยเรื่อง ระยะเวลาและอัตราการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะในผู้ป่วยที่คาสายสวนปัสสาวะของโรงพยาบาลพุทธชินราช.
ความพึงพอใจของผู้มาใช้บริการคลินิกพิเศษ โรงพยาบาลพุทธชินราช
สถานการณ์การใช้ยาปฏิชีวนะในปัจจุบัน ในเขตเทศบาลนครพิษณุโลก
Prevalence rate ของผู้ป่วย Abortion
ภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยในสูงอายุ ของรพ.พุทธชินราช
การประเมินภาวะการใช้ยา Ceftazidime และ Imipenem
ภาวะแทรกซ้อนของการรักษาผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย ที่ได้รับการรักษาโดยวิธีทดแทนไต ในโรงพยาบาลพุทธ- ชินราช ในช่วงปี ม.ค ธ.ค 2544 Complications.
PNEUMONIA UNDER FIVE YEAR IN BUDDHACHINARAJ HOSPITAL
OBJECTIVE To study the relationship between signs , symptoms or history of disease and routine urinalysis.
ปัจจัยที่ทำให้ผู้ป่วยใน ICUติด LRI จาก ICU ของโรงพยาบาลพุทธชินราช
การศึกษาผลการดำเนินงานคลินิกเลิกบุหรี่ โรงพยาบาลพุทธชินราช
หัวข้อเรื่อง การทบทวนการรักษาผู้ป่วยไข้เลือดออกเดงกี
RESEARCH PROPOSAL A6 GROUP.
การพบเชื้อใน stool culture ของผู้ป่วยเด็ก
ทบทวนการให้รหัสICD-10TM For PCU
Thailand Research Expo
กลุ่ม 2 กำหนดมาตรฐานยา รพ.ทบ..
การขูดมดลูก การขูดมดลูก หมายถึง การใส่อุปกรณ์เครื่องมือแพทย์ผ่านทางช่องคลอด และ ปากมดลูกเข้าไปในโพรงมดลูก เพื่อเก็บชิ้นเนื้อส่งตรวจ.
การศึกษาการใช้ทฤษฏี Fuzzy Signature เพื่อวิเคราะห์คาดการณ์การเกิดโรคไตในผู้ป่วย อัมพล หลำเบ็ญส๊ะ.
การสอบสวนโรคมือเท้าปากระบาดให้ได้คุณภาพ
ทะเบียนรับแจ้งข่าวการระบาด
กฎหมายแรงงาน นพ. จรัส โชคสุวรรณกิจ
VDO conference dengue 1 July 2013.
โรงพยาบาลทับสะแก อำเภอทับสะแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
การพัฒนางานคุณภาพงานเอดส์
การดูแล ผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
บริบาลเภสัชกรรม รวดเร็วปลอดภัย คลินิกเด็กหัวใจสีเหลือง.
กรณีตัวอย่าง.
การศึกษาอัตราการเกิดอุบัติเหตุฯ ระหว่าง ปฎิบัติงานของบุคลากรทางการแพทย์และ สาธารณสุขของโรงพยาบาลพุทธชินราช.
นสพ. วารี จุลเกตุ รหัส นสพ. วีรพรรณ ปรางค์เจริญ รหัส
ตารางแสดงตัวชี้วัดที่เฝ้าระวัง หน่วยไตเทียม ก่อนทำCQI
เบาหวาน ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา.
รวบรวมเทคนิคและเคล็ดลับการสอบสวนโรค ประสบการณ์ภาคสนาม
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน สิงหาคม 2552 ดรุณี โพธิ์ศรี
ประเด็นในการนำเสนอระบบข้อมูลสารสนเทศของ รพ.สต.
ในการสอบสวนโรคกลุ่มต่าง ๆ
ผู้ป่วยเข้านิยามอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่จำนวนทั้งหมด 85 ราย (อัตราป่วย)
นโยบายคุณภาพ Quality Policy
วันที่ 5 มิถุนายน 2549 ชื่อเรื่อง : การพัฒนากระบวนการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร ณ จุดประชาสัมพันธ์ แหล่งข้อมูล : ชื่อผู้เล่า นางสุรดา ภูมิปัญญา ตำแหน่ง เจ้าพนักงานธุรการ.
โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์
ผลการศึกษาข้อมูลสาเหตุการตาย รพ.จังหวัดสมุทรปราการ
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2557 เดือน กรกฎาคม 2557 รวมทั้งสิ้น 79 ตัวชี้วัด.
โรคเบาหวาน ภ.
ชื่อเรื่อง การศึกษาความสนใจด้านการดูแลสุขภาพตนเองของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ และนักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ผู้วิจัย นางศิริพร.
นิ่วในถุงน้ำดี งานสุขศึกษา โรงพยาบาลพะเยา.
แนวทางการส่งต่อผู้ป่วยโรคเบาหวานไปรับการรักษาที่
โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
แนวทางการคัดกรองและส่งต่อ ผู้ป่วยเด็กโรคหัวใจ โรงพยาบาลศรีสะเกษ
วิเคราะห์สถิติผู้ป่วยนอก ให้รหัสตาม icd10tm
 ผู้ฟังในกลุ่มมีจำนวนทั้งสิ้นเท่าใด  ผู้ฟังประกอบด้วยบุคคลเพศหญิงหรือเพศ ชาย วัยใด ในสัดส่วนเท่าใด  ผู้ฟังประกอบด้วยบุคคลที่มาจากกลุ่ม สังคมหรือกลุ่มอาชีพประเภทใด.
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2557 เดือน พฤษภาคม 2557 รวมทั้งสิ้น 79 ตัวชี้วัด.
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2557 เดือน สิงหาคม 2557 รวมทั้งสิ้น 79 ตัวชี้วัด.
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2557 เดือน เมษายน 2557 รวมทั้งสิ้น 79 ตัวชี้วัด.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กลุ่ม ๕

Literature review งานวิจัยนี้ยังไม่มีการศึกษามาก่อนมีเพียงวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องเช่น สาเหตุเลือดออกในทางเดินอาหารส่วนต้นในโรงพยาบาลนพรัตน์ ,การศึกษาความถูกต้องในการวินิจฉัยโรคไส้ติ่งอักเสบเฉียบพลันในผู้ป่วยในของโรงพยาบาลพุทธชินราช ,Is the diagnosis yield of endoscopy improved by the use of explicit panel based2 และMost common cause UGIB3 ผู้วิจัยมีความสนใจในความถูกต้องในการวินิจฉัยภาวะเลือดออกในทางเดินอาหารส่วนต้น เนื่องจากเป็นภาวะฉุกเฉินที่มีอัตราตายสูง

คำถามหลัก อาการและอาการแสดงแต่ละอันที่พบได้ในภาวะเลือดออกในทางเดินอาหารส่วนต้นช่วยในการวินิจฉัยได้อย่างถูกต้องมากน้อยเพียงใด

คำถามรอง 1. อาการและอาการแสดงที่พบบ่อย 3 อันดับแรกของผู้ป่วย UGIB ที่เข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลพุทธชินราชคืออะไร ?

2. อัตราส่วนของผู้ป่วยUGIBระหว่างเพศชายกับเพศหญิงคืออะไร?

วิธีวิจัย 1. เริ่มจากไปหาทะเบียนประวัติที่แผนกเวชระเบียนแล้วขอข้อมูลผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็น PU & DU Malignancy CA rectum CA colon Gut obstruction Vulvulus Adhesion Intussusception

Anal fissure Rupture of diverticulosis Abdominal aortic aneurism Thalasemia Hemorrhoid Cirrhosis Blunt trauma

มาตรการในการคัดเลือก เป็นจำนวนผู้ป่วยทุกคนมาเข้ารับการรักษาด้วยอาการ hematochezia , hematemesis , melena , iron deficiency anemia

มาตรการในการคัดออก ผู้ป่วยที่ไม่ได้รับการส่องกล้อง endoscope - ผู้ป่วยที่ refer มาจากโรงพยาบาลอื่นและได้รับการส่องกล้องendoscopeมาจากโรงพยาบาลนั้น. - ผู้ป่วยที่ไม่ได้มีภาวะนี้ตั้งแต่แรกรับ. - แพทย์นัด.

นิยาม (Definition) Provisional diagnosis : การวินิจฉัยครั้งแรกก่อนส่องกล้อง endoscope. Definite diagnosis :ผลการวินิจฉัยหลังจากส่องกล้อง endoscope ยืนยัน. Hematemesis :อาเจียนเป็นเลือด. Melena: อุจจาระที่ผ่านออกมามีสีดำประกอบด้วยเลือดซึ่งถูกกรดทำปฏิกริยา ทำให้มีสีดำ. Hematochezia: ถ่ายอุจจาระเป็นเลือด.

ผลการศึกษา Subject บันทึกรายชื่อผู้ป่วยจากสมุดทะเบียนโดยดูจาก definite diagnosis ซึ่งคาดว่าจะมา admit ด้วยอาการ hematemesis, hematochezia, melena, abdominal pain , syncope จากทุกหอผู้ป่วยโดยไม่จำกัดอายุ, เพศ และ admit ระหว่างวันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2542 –31 สิงหาคม พ.ศ.2543

ได้ทำการสืบค้นในเวชระเบียนของผู้ป่วยที่มาด้วยอาการ Hematemesis, Melena, Hematochezia, Abdominal pain ที่คาดว่าผู้ป่วยจะมาด้วยภาวะ UGIB มีจำนวนทั้งสิ้น 1,312 รายและคัดออกโดย ผู้ป่วยที่refer มาจากโรงพยาบาลอื่นที่มี Difinite diagnosis 0 ราย ผู้ป่วยที่ไม่ได้รับการส่อง endoscope 301 ราย ผู้ป่วยที่ไม่ได้มีภาวะนี้ตั้งแต่แรกรับ 389 ราย สรุปมีผู้ป่วยที่คัดเข้าเพื่อนำไปวิเคราะห์ทั้งสิ้น 622 รายเป็นชาย 392 ราย หญิง 230 ราย

ตารางแสดงจำนวนผู้ป่วยUGIBในแต่ละเดือน

กราฟแสดงจำนวนผู้ป่วยUGIBในแต่ละเดือน

ตารางแสดงความสัมพันธ์ระหว่างเพศและอายุของผู้ป่วยUGIB

กราฟแสดงความถี่ของผู้ป่วยUGIBในแต่ละช่วงอายุ 0-15 16-30 31-45 46-60 61-75 76-90(*96) ช่วงอายุ

ตารางแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง Hematemesisกับผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นและไม่เป็นUGIB

กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง Hematemesis กับผู้ป่วยที่เป็นหรือไม่เป็น UGIB

ตารางแสดงความสัมพันธ์ระหว่างอาการ Melenaกับผู้ป่วยที่วินิจฉัยว่าเป็นหรือไม่เป็น UGIB

กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่างMelena กับผู้ป่วยที่เป็นหรือไม่เป็น UGIB

ตารางแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง Hematocheziaกับผู้ป่วยที่เป็นหรือไม่เป็น UGIB

กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง Hematocheziaกับผู้ป่วยที่เป็นหรือไม่เป็น UGIB

ตารางแสดงจำนวนผู้ที่มีอาการ Abdominal pain ใน ผู้ป่วย UGIB และ Non-UGIB

กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง Abdominal pain กับผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นและไม่เป็นUGIB

กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง Syncope ในผู้ป่วยที่เป็น UGIBและNon-UGIB

กราฟแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง syncope กับผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นและไม่เป็นUGIB

ตารางสรุปความถูกต้องของอาการและอาการแสดงของผู้ป่วยUGIHที่มารับการรักษายังโรงพยาบาลพุทธชินราช

วิจารณ์ 1. ในงานวิจัยชิ้นนี้มีจำนวน case ที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็น UGIBและตรวจยืนยันด้วย endoscope ค่อนข้างน้อยเมื่อเทียบกับจำนวน case ทั้งหมดที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นUGIB ทั้งนี้เนื่องจาก คนไข้มาถึงโรงพยาบาลตอนกลางคืน, ตรงกับวันหยุด, และเลือดหยุดไหลแพทย์จึงไม่ทำendoscopy 2.เนื่องจากงานวิจัยชิ้นนี้ศึกษาแบบ retrospective ข้อมูลที่ได้จากเวชระเบียนของผู้ป่วยที่เกี่ยวกับอาการและอาการแสดงไม่ครบ ทำให้เกิด selection bias ได้ เนื่องจากแพทย์บางท่านเห็นว่าไม่สำคัญและไม่จำเป็นต้องบันทึกไว้เช่น abdominal pain, syncope

3. อาการและอาการแสดงของแต่ละอย่างมีความสำคัญไม่เท่ากัน ผู้วิจัยจึงทำการศึกษาเฉพาะอาการและอาการแสดงที่เห็นว่าสำคัญ เช่น hematemesis, hematochezia, melena, abdominal pain, syncope 4. มีข้อห้ามในการใส่ endoscope ในเด็ก 5. น่าจะเป็นการศึกษาแบบ Prospective เพื่อลดความผิดพลาดในการบันทึกอาการและอาการแสดงและขอความร่วมมือจากแพทย์ให้ช่วยกรอกอาการและอาการแสดงให้ครบถ้วนชัดเจนและพิจารณาทำ endoscopeทุกรายที่สงสัยว่าจะเป็น UGIB

THE END