การบริหารการเปลี่ยนแปลง (Change Management)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

ศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ ธำรงธัญวงศ์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
การฝึกอบรมหลักสูตร การบริหารจัดการโครงการ และการติดตามประเมินผล
มูลนิธิสถาบันที่ดิน 9 กรกฎาคม 2550
การบริหารจัดการเพื่อ พัฒนาผลการปฏิบัติงาน
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
ข้อควรคำนึงในการสร้างเครือข่าย
นำเสนอต่อ ผู้บริหารของกรมสุขภาพจิต
ข้อควรพิจารณาในการปรับแผนยุทธศาสตร์ คณะวิทยาการสารสนเทศ พ. ศ
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 5
33701 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 1
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำแผนการพัฒนาและการปฏิบัติการ ของโครงการโดยเจ้าหน้าที่โครงการมีส่วนร่วม ปี พ.ศ.2552.
สภาพแวดล้อมปัจจุบัน โลกยุคโลกาภิวัตน์ สังคม เศรษฐกิจ
กรอบแนวคิด การพัฒนากองบริการการศึกษา.
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
กระบวนทัศน์ในการบริหารราชการไทย
หลักการบริหารภาครัฐยุคใหม่
การบริหารโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ Results Based Management (RBM)
ประโยชน์สุขของประชาชน
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม ค่านิยมในการทำงานราชการยุคใหม่
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
โครงสร้างและวัฒนธรรมองค์การ (Organizational Structure and Culture)
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
Sharing Items Module 1 : การจัดทำแผนที่ยุทธศาสตร์
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
พิธีลงนามคำรับรองการปฏิบัติราชการหน่วยงานภายใน
พิธีเปิดการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ
โดย ผู้อำนวยการสำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
1 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ กลุ่มที่ 5. 2 สมาชิกกลุ่ม 18.
การตรวจรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) 1.
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
การบริหารและการจัดการองค์กร ในยุคสหัสวรรษ
สำนักนโยบายและแผนการอาชีวศึกษา
คน Man ผู้บริหาร บุคลากรของทุกระดับ.
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
Blueprint for Change ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง (Blueprint for Change) คืออะไร ? เทคนิคการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารราชการให้เกิดความพร้อมในการสนับสนุนและผลักดันให้ยุทธศาสตร์ของส่วนราชการเกิดผลทางปฏิบัติ
การบริหารสู่ความเป็นเลิศ
โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA : Public Sector Management Quality Award) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
Self Assessment Self Assessment คือการประเมินตนเอง คือวิธีการที่จะทำให้องค์กรได้ทราบถึงสมรรถนะ จุดอ่อน จุดแข็งของตนเอง สามารถนำไปใช้ในการวางแผน ปรับปรุงองค์กรให้มีประสิทธิภาพ.
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
Participation : Road to Success
ตัวชี้วัด ปี 2548 คำรับรองการปฏิบัติราชการ มิติ 1 ประสิทธิผล
หลักการ และเทคนิควิธีการกำหนด แผนปฏิบัติราชการสำนักงานยุติธรรมจังหวัด
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
การบริหารและกระบวนการวางแผน
การบริหารงานบุคลากร ภาครัฐแนวใหม่
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
การจัดการความรู้ ศูนย์นิติวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
(Strategy Implementation)
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
โดย นายคันฉัตร ตันเสถียร รองผู้ว่าราชการจังหวัดอุบลราชธานี
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
การวางแผนยุทธศาสตร์.
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
ธรรมาภิบาลกับการจัดการภาครัฐแนวใหม่
16. กลยุทธิ์ที่มุ่งเน้น ความสำเร็จ. Background การเปลี่ยนทัศนคติ จาก แรงงาน เป็นผลการปฏิบัติงาน แรงจูงใจบนพื้นฐานความเข้าใจ เพื่อบรรลุสู่ความสำเร็จ แบบญี่ป่น.
Change Management.
ทิศทางการพัฒนาระบบราชการไทย
แนวทางการพัฒนาทรัพยากรบุคคล
เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การบริหารการเปลี่ยนแปลง (Change Management)

การบริหารการเปลี่ยนแปลง บริบทของการเปลี่ยนแปลง กระบวนทัศน์ใหม่ในการทำงาน หลักการบริหารการเปลี่ยนแปลง การจัดทำข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง ผู้นำการเปลี่ยนแปลง

สาเหตุของเปลี่ยนแปลง ปัจจัยภายนอกองค์การ (PEST) ปัจจัยภายในองค์การ (7S) Structure Shared Value Technology Political/ Legal องค์การ Style System Staff Strategy Skill Social Economic

ประเทศไทยในบริบทของความเปลี่ยนแปลง มิติทางด้านนานาชาติ - การเปิดการค้าเสรี - การเพิ่มขีดความสามารถ ในการเจราจาการค้า - การสร้างความร่วมมือ ในภูมิภาคเอเซีย (ADB) มิติทางด้านเศรษฐกิจ - การเปลี่ยนแปลงฐานเศรษฐกิจ ไปสู่ Knowledge based - การพัฒนาเศรษฐกิจในระดับ รากฐานควบคู่กับการส่งเสริม การส่งออก สินค้า และบริการ - การสร้างความรอบรู้ทาง ว&ท มิติทางด้านสังคม - การขาดคุณภาพในการพัฒนาสังคม - ปัญหา Corruption ทั้งรัฐและเอกชน - ปัญหาคุณภาพทางการศึกษา - กระแสวัตถุนิยม มิติทางด้านการเมือง - แรงผลักดันจากการปฏิรูป การเมืองและรัฐธรรมนูญ 2540

Prime Minister’s Vision Beyond Bureaucracy ให้ประชาชนเป็นศูนย์กลาง (citizen-centered) และ ยึดประโยชน์ สุขของประชาชนเป็นหลัก คิดเชิงยุทธศาสตร์ มุ่งไปข้างหน้า (future-oriented) และ เปิดมุมมองให้กว้าง (outside-in approach) บริหารงานบนฐานขององค์ความรู้และข้อมูลสารสนเทศ ทำงานเชิงรุก กล้าคิด กล้าทำ ท้าทาย ไม่ติดยึดกับรูปแบบเดิม เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้น ยึดหลักบูรณาการ ไร้พรมแดนของหน่วยงาน (boundary less) มีเป้าหมายในการทำงาน สามารถวัดผลสำเร็จได้อย่างชัดเจน เน้นความรวดเร็ว เพื่อให้สามารถแข่งขันได้ (economy of speed) เรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ปรับตัวให้ทันโลกทันสมัย แสวงหาและใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีสมัยใหม่

ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย ยุทธศาสตร์ 1: การปรับเปลี่ยนกระบวนการและวิธีการทำงาน ยุทธศาสตร์ 2: การปรับปรุงโครงสร้างการบริหารราชการแผ่นดิน ยุทธศาสตร์ 3: การปรับรื้อระบบการเงินและการงบประมาณ ยุทธศาสตร์ 4: การทบทวนระบบบุคคลและค่าตอบแทนใหม่ ยุทธศาสตร์ 5: การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม และค่านิยมของระบบราชการ ยุทธศาสตร์ 6: การเสริมสร้างความทันสมัย (รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์) ยุทธศาสตร์ 7: การเปิดระบบราชการให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม

ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย การปรับโครงสร้างระบบราชการ ( รวมถึงการพัฒนาระบบบริหารงานของกลุ่มภารกิจ และ การทำงานแบบเมตริกซ์ ) การจัดองค์กรรูปแบบใหม่ ( องค์การมหาชนและหน่วยบริการรูปแบบพิเศษ ) การสอบทานการใช้จ่ายเงิน และบทบาทภารกิจ การเปิดโอกาสให้เอกชน/องค์กรที่ไม่ใช่ภาคราชการเข้ามาแข่งขันในการให้บริการสาธารณะ(Contestability) การคำนวณต้นทุนฐานกิจกรรม และการเรียกเก็บค่าธรรมเนียมในการถือครองทรัพย์สินของหน่วยงานในภาครัฐ (Capital Charges) ปรับบทบาท ภารกิจและขนาด ให้มีความเหมาะสม การมีส่วนร่วมของประชาชน การตรวจสอบภาคประชาชน ( People’s Audit ) Lay Board การสร้างเครือข่ายการพัฒนา ระบบราชการ เ การพัฒนา ระบบราชการ เพื่อประโยชน์สุข ของประชาชน เปิดระบบ ราชการ สู่กระบวนการ ประชาธิปไตย พัฒนาคุณภาพ การให้บริการ ประชาชนที่ดีขึ้น มาตรฐานการให้บริการภาครัฐ การออกแบบกระบวนการทำงานใหม่ การปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย และ ระเบียบขั้นตอนที่เป็นอุปสรรค การให้บริการทางอิเล็กทรอนิกส์ (e- Service) call center 1111 ศูนย์บริการร่วม (Service Link) Government Counter Services การวางยุทธ์ศาสตร์และการขับเคลื่อน ยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติ การจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ และ การประเมินผลการดำเนินงาน (Performance Scorecard) มาตรการเสริมสร้างแรงจูงใจตามผลงาน ยกระดับ ขีดความสามารถ และมาตรฐาน การทำงาน ให้อยู่ระดับสูง การบริหารการเปลี่ยนแปลง ผู้นำการเปลี่ยนแปลง การเรียนรู้ผ่านสื่อทางอีเล็กทรอนิกส์ การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ : I AM READY นักบริหารที่มีความสำคัญเชิงยุทธศาสตร์ นักบริหารการเปลี่ยนแปลงยุคใหม่ การปรับปรุงเงินเดือนและค่าตอบแทน รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (E-Government) การเปลี่ยนระบบการบริหารการเงินการ คลังภาครัฐสู่ระบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS)

แผนบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2548 - 2551 การขจัดความยากจน การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจให้สมดุลและแข่งขันได้ การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การต่างประเทศและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ การพัฒนากฎหมายและส่งเสริมการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี การส่งเสริมประชาธิปไตยและกระบวนการประชาสังคม การรักษาความมั่นคงของรัฐ การรองรับการเปลี่ยนแปลงและพลวัตรโลก

การบริหารการเปลี่ยนแปลง บริบทของการเปลี่ยนแปลง กระบวนทัศน์ใหม่ในการทำงาน หลักการบริหารการเปลี่ยนแปลง การจัดทำข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง ผู้นำการเปลี่ยนแปลง

กระบวนทัศน์ วัฒนธรรม และค่านิยม กระบวนทัศน์ = กรอบความคิด / วิธีคิด (Paradigm) วัฒนธรรม = ความคิด ประเพณี ทักษะ ศิลปะ (Culture) ค่านิยม = ความเชื่อถาวรเกี่ยวกับสิ่งที่เหมาะสม (Value) มาตรฐานความเชื่อ กระบวนทัศน์ กำหนดพฤติกรรมและทัศนคติเรา รวมถึงวิธีการที่เราแสดงต่อคนอื่น ดังนั้น หากเราสามารถเปลี่ยนกรอบความคิดได้ จะทำให้มองสิ่งต่างๆในมุมมองที่แตกต่างไปจากเดิม วัฒนธรรม สืบทอดจากคนรุ่นหนึ่งไปยังอีกรุ่นหนึ่ง วัฒนธรรมขององค์กร เป็นค่านิยม ความเชื่อ ความเข้าใจ และบรรทัดฐานร่วมกันของบรรดาสมาชิกภายในองค์กร ค่านิยม เป็นที่ยึดถือหรือยอมรับโดยบุคคล หรือกลุ่มคน หรือสังคม สืบทอดจากคนรุ่นหนึ่ง 10

วัฒนธรรมในการทำงานใหม่ การลดขนาดและอำนาจจากส่วนกลาง การรายงานหลายทาง (Matrix Reporting System) การทำงานแบบมีส่วนร่วม การกระจายอำนาจสู่ผู้ปฏิบัติ การวัดผลิตภาพ ผลิตผล

กระบวนทัศน์เดิม กระบวนทัศน์ใหม่ที่ควรเป็น ประชาชนคือผู้อยู่ใต้ปกครอง - ประชาชนคือลูกค้าที่ต้องเอาใจใส่ - มุ่งรักษาสถานภาพเดิม - ผู้นำการเปลี่ยนแปลง (Management for status Quo) (Change agent) ยึดระเบียบกฎเกณฑ์เข้มงวด - ใช้ระเบียบกฎเกณฑ์อย่างมีดุลยพินิจ (Regulation) วัดผลจากกิจกรรม - วัดผลสัมฤทธิ์ ทำตามสั่ง(Boss Oriented) - ริเริ่มสร้างสรรค์ - แบ่งงานกันทำตามหน้าที่ - ยึดทีมงาน กระบวนการทำงาน - รวมอำนาจ (Centralization) - กระจายอำนาจ (Decentralization) - เน้นการควบคุม (Controller) - เน้นการช่วยเหลือแนะนำ - ทำงานตามสายบังคับบัญชา - ทำงานแนวราบ-สร้างเครือข่าย - ทำงานเช้าชาม-เย็นชาม - มีวิสัยทัศน์ แก้ปัญหาเฉพาะหน้า   - ไม่มีการวัดการให้บริการ - สร้างตัวชี้วัด ไม่ชอบการเปลี่ยนแปลง - พร้อมรับการเปลี่ยนแปลง อาศัยประสบการณ์ความเคยชิน อย่างกล้าหาญ - ปกปิด - โปร่งใส - ตัดสินใจโดยภาครัฐ - ประชาชนมีส่วนร่วม

คุณลักษณะข้าราชการที่พึงประสงค์ I AM READY

Integrity ทำงานอย่างมีศักดิ์ศรี I AM READY Integrity ทำงานอย่างมีศักดิ์ศรี Activeness ขยัน ตั้งใจ ทำงานเชิงรุก Morality มีศีลธรรม คุณธรรม Relevancy รู้ทันโลก ปรับตัวทันโลกตรงกับสังคม Efficiency มุ่งเน้นประสิทธิภาพ Accountability รับผิดชอบต่อผลงาน ต่อสังคม Democracy มีใจและการกระทำที่เป็น ประชาธิปไตย มีส่วนร่วม โปร่งใส Yield มีผลงาน มุ่งเน้นผลงาน

Communication for Change การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ ค่านิยมและ วัฒนธรรมของข้าราชการไทย และการเรียนรู้ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เก่า pull push ใหม่ I ntegrity A ctiveness M orality R elevancy E fficiency A ccountability D emocracy Y ield Promotion/ Campaign Incentives Change Agent Communication for Change

Empowerment ยุทธศาสตร์ที่ 2 วาระแห่งชาติ ยุทธศาสตร์ที่ 1 Enabling ยุทธศาสตร์ที่ 1 : การสร้างรูปแบบกระบวนการเรียนรู้จากประสบการณ์จริงให้เกิดขึ้นในภาครัฐ Action Learning พัฒนายุทธวิธีเพื่อปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ในกลุ่มนักการเมือง สร้าง Champion สร้าง Pilot and Demonstration Case คุณลักษณะข้าราชการ ที่พึงประสงค์ I AM READY ยุทธศาสตร์ที่ 1 Empowerment ยุทธศาสตร์ที่ 2 Enabling Environment ยุทธศาสตร์ที่ 3 วาระแห่งชาติ ยุทธศาสตร์ที่ 3 : การเปิดโอกาสให้สังคมเข้ามามีส่วนเร่งรัดการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ฯ ยุทธศาสตร์ที่ 2 : การเสนอแนะการจัด สภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการเรียนรู้ ดึงส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในสังคม รณรงค์เผยแพร่กระบวนทัศน์ใหม่ ส่งเสริมการปฏิบัติราชการตามหลักเกณฑ์วิธีการ บริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี สร้างกลไกให้ประชาชนเข้ามาติดตามการ ปรับเปลี่ยน สร้างระบบการให้รางวัลและลงโทษ (Carrot & Stick) ประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่อง ปรับปรุงกฎระเบียบให้เกื้อกูลต่อการทำงาน

เครื่องมือการบริหาร ค่านิยม อุดมการณ์ Relevance รู้ทันโลก ทันสังคม Efficiency มุ่งเน้นประสิทธิภาพ Accountability รับผิดชอบ Democratic Governance ประชาธิปไตย โปร่งใส มีส่วนร่วม Yield มุ่งผลงาน Integrity รักศักดิ์ศรี Active ขยัน รุก ไม่ดูดาย Moral มีคุณธรรมจรรยาบรรณ Strategic Vision Management Efficiency Tools BPR, ABC, ITM, CTM Good Governance Result-Based Management Core Characteristics

ทักษะ Knowledge Worker ด้านตรรกะ ด้านภาษา ด้านมิติ ด้านมนุษย- สัมพันธ์ ด้านการใช้ เครื่องมือ ด้านอารมณ์ ด้านร่างกาย ด้านตามภารกิจ

Knowledge Worker คุณลักษณะของบุคคลที่จะเป็น Knowledge Worker คนทำงาน 4 ลักษณะ : ฉลาด กัดไม่ปล่อย ทำงานหนัก มีทัศนคติที่ดี ให้ความสำคัญกับคนรุ่นใหม่ และคนที่มีความสามารถพิเศษ ให้ความสำคัญคนที่เชื่อในค่านิยม/หลักการพื้นฐานของ หน่วยงาน

Knowledge Worker ทำอะไร ทำงานในลักษณะ Agenda Based ศึกษา Best Practice/Model ใหม่ ศึกษา/วิเคราะห์ข้อมูล สภาพแวดล้อม ของเรื่องที่จะดำเนินการ การเขียน TOR หรือ Proposal ประยุกต์รูปแบบ/Model ต่าง ๆ Presentation : Oral & Writing ประสานงานทั้งด้าน Logistic & Technic Implement ให้เกิดผล

การบริหารการเปลี่ยนแปลง บริบทของการเปลี่ยนแปลง กระบวนทัศน์ใหม่ในการทำงาน หลักการบริหารการเปลี่ยนแปลง การจัดทำข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง ผู้นำการเปลี่ยนแปลง

ความหมายของการบริหารการเปลี่ยนแปลง B A กระบวนการที่ได้วางแผนไว้อย่างเป็นระบบ Change Management is the use of systematic methods to ensure a planned organizational change can be guided in the planned direction, conducted in a cost effective and efficient manner, and completed within the targeted time frame and with the desired resulted (Holland & Davis Management Consulting Services) The process of modifying/revising a particular design, operation, technique, or system, includes both hardware and software, as well as transition planning (Paul F. Wilson and others)

ธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลง การเปลี่ยนแปลงเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับอารมณ์/ความรู้สึก (emotion) No pain, No gain

กระบวนการเปลี่ยนแปลงตามทัศนะของ Kurt Lewin กระบวนการละลายพฤติกรรม (Unfreezing) กระบวนการเปลี่ยนแปลง (Changing) การหล่อหลอมกระบวนการที่เกิดขึ้นให้คงอยู่ (Refreezing)

สาเหตุของการต่อต้านการเปลี่ยนแปลง กลัวสูญเสียอำนาจ สาเหตุของการเปลี่ยนแปลงไม่ชัดเจน ความคลุมเครือของผลลัพธ์ ความกระทันหัน กลัวเสียหน้า เสียศักดิ์ศรี กลัวลำบาก เสียประโยชน์ส่วนตน รู้สึกผูกพันกับสิ่งเดิม ขาดความมั่นใจในตนเอง

วิธีรับมือกับการต่อต้าน ที่ขาดประสิทธิผล ทำลายการต่อต้าน หลีกเลี่ยงการต่อต้าน กลบเกลื่อนการต่อต้าน วิธีรับมือการต่อต้าน อย่างสร้างสรรค์ เตรียมความพร้อม ทำให้การต่อต้านปรากฎ ให้เกียรติผู้ต่อต้าน สำรวจการต่อต้าน ทบทวน

การใช้คนนอกมาช่วยบริหารการเปลี่ยนแปลง องค์กรไม่ทราบแน่ชัดว่าต้องแก้ไขอะไร องค์กรต้องการให้คนนอกสะท้อนจุดอ่อน/จุดแข็งของตน บางครั้งองค์กรไม่มีผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน ผู้เชี่ยวชาญในองค์กรไม่สามารถบริหารการเปลี่ยนแปลงได้ องค์กรต้องการมุมมองใหม่ๆ การยอมรับคนนอกเข้ามา จะลดปัญหาความขัดแย้งที่จะเกิดขึ้น บางกรณี องค์กรไม่ต้องการรับสภาวะการเสี่ยงไว้เอง

มุมมองด้านบวกของการเปลี่ยนแปลง สร้างสำนึกแห่งความเป็นเจ้าของร่วมกัน ให้มองว่าทุกคนได้รับผลประโยชน์ส่วนตน การเปลี่ยนแปลงไม่น่ากลัวและไม่ก่อให้เกิดความยากลำบาก การเปลี่ยนแปลงไม่น่าเบื่อ ไม่ปฏิเสธการต่อต้าน แต่ต้องเข้าใจและยอมรับ

ขั้นตอนการเปลี่ยนแปลง เข้าใจถึงสาเหตุของการเปลี่ยนแปลง กำหนดเป้าหมาย สร้างและกำหนดทางเลือก วางแผน ปฏิบัติตามแผน เสริมแรงให้กับการเปลี่ยนแปลง ประเมินผล

การบริหารการเปลี่ยนแปลง บริบทของการเปลี่ยนแปลง กระบวนทัศน์ใหม่ในการทำงาน หลักการบริหารการเปลี่ยนแปลง การจัดทำข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง ผู้นำการเปลี่ยนแปลง

การบริหารการเปลี่ยนแปลง องค์กรที่มุ่งเน้นยุทธศาสตร์ (Strategy-focused Organization) การบริหารกระบวนการ ประสิทธิภาพ efficiency ลดรอบระยะเวลาดำเนินการ การพัฒนาขั้นตอนการทำงานให้ดีขึ้น ลดต้นทุน & ความสูญเสีย Reengineering Lean Enterprise Six Sigma TQM เพิ่มผลผลิต กระบวนการบริหารลูกค้า คุณภาพ quality การบริหารการเปลี่ยนแปลง Change Management เพิ่มคุณค่า Value Creation การดูแลผู้รับบริการ เพิ่มความพึงพอใจ เพิ่มความไว้วางใจ ความโปร่งใส มีส่วนร่วม effectiveness ขีดสมรรถนะ capacity-building การวางระบบบริหารจัดการสินทรัพย์ที่จับต้องไม่ได้ เพิ่มความพร้อมเชิงยุทธศาสตร์ ทุนมนุษย์ ทุนข้อมูลสารสนเทศ & ทุนความรู้ ทุนองค์กร

การบริหารกระบวนการ (Operations Management Processes) รื้อปรับระบบงาน Reengineering การออกแบบขั้นตอนใหม่ Process Redesign ลดระยะเวลา Cycle-time ควบคุมคุณภาพ Six Sigma Kaizen / TQM Strategy-related Processes ท่องเที่ยว เกษตร SME/OTOP การค้าชายแดน …… ลดต้นทุน Cost Saving ลดขั้นตอน/ทำให้ง่าย Work Simplification เพิ่มผลผลิต Productivity ลดกฎระเบียบ Deregulation

กระบวนการบริหารลูกค้า Customer Management Processes Strategy-related Processes ท่องเที่ยว เกษตร SME/OTOP การค้าชายแดน …… บริการด้วยใจ Customer Care ความพึงพอใจ Satisfaction ลูกค้าสัมพันธ์ CRM ความไว้วางใจ Trust โปร่งใส มีส่วนร่วม Transparency Public Participation

การวางระบบบริหารจัดการสินทรัพย์ที่จับต้องไม่ได้ Intangible Assets Management Processes ทุนมนุษย์ Human Capital Human Capital Development Plan ทักษะ ความรู้ การสร้าง “ความพร้อม” ในการขับเคลื่อน ยุทธศาสตร์Strategic Readiness คุณค่า ขีดความสามารถ ทุนข้อมูลสารสนเทศและทุนความรู้ Information Capital ICT Plan ระบบ ฐานข้อมูล เครือข่าย ทุนองค์การ Organization Capital Knowledge Mgt. Individual Scorecard ภาวะผู้นำ ทำงานเป็นทีม วัฒนธรรมองค์กร การถ่ายทอดเป้าหมาย

แผนยุทธศาสตร์ ตัวผลักดันEnablers/ Drivers ผลสัมฤทธิ์ Results (60%) แนวทางการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการประจำปี 2548 แผนยุทธศาสตร์ ผลสัมฤทธิ์ Results (60%) ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ + ตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมาย มิติ 1 ประสิทธิผลตาม แผนยุทธศาสตร์ แผนการบริหารเปลี่ยนแปลง ตามประเด็นยุทธศาสตร์ ตัวผลักดันEnablers/ Drivers (40%) การเปลี่ยนแปลงเป็นการทั่วไป (ภาคบังคับ) การจัดทำ ข้อเสนอ การเปลี่ยนแปลง มิติ 2 คุณภาพ มิติ 3 ประสิทธิภาพ มิติ 4 การเรียนรู้ และพัฒนา

แผนการบริหารการเปลี่ยนแปลง - ตามแผนยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัด ภาคบังคับ ต้องดำเนินการและสามารถวัดผลได้ในปี 48 ข้อเสนอในการเปลี่ยนแปลง ของแต่ละหน่วยงาน – ครอบคลุมระยะเวลา 3 ปี วัดความก้าวหน้าตาม milestone และผลสัมฤทธิ์ที่เกิดขึ้นจริง มิติที่ 2 การพัฒนาคุณภาพ มิติที่ 3 การปรับปรุงประสิทธิภาพ มิติที่ 4 การเสริมสร้าง ขีดสมรรถนะ Customers Management Processes ความพึงพอใจ ทุจริตคอรัปชั่น Blueprint for change Operations Management Processes ลดเวลาและขั้นตอน ประหยัดค่าใช้จ่าย Intangible Assets Management Processes การบริหารความรู้ IT เสนอให้เห็นชอบภายใน วันที่ 31 มี.ค. 2548 30

การบริหารการเปลี่ยนแปลง บริบทของการเปลี่ยนแปลง กระบวนทัศน์ใหม่ในการทำงาน หลักการบริหารการเปลี่ยนแปลง การจัดทำข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง ผู้นำการเปลี่ยนแปลง

Leadership การชักนำผู้อื่น ตลอดจนชี้แนะผู้ใต้บังคับบัญชาให้ปฏิบัติงาน ศิลปะทางการจูงใจ เพื่อให้เกิดความ “ศรัทธาและ เชื่อมั่นเคารพ”

Leaders VS. Managers Leaders Managers Leaders do the right things Managers do things right Leaders set direction/vision Managers plan and budget Leaders align employees Managers organize and staff Leaders motivate and inspire Managers control

บทบาทของผู้นำการเปลี่ยนแปลง ตั้งทิศทางการเปลี่ยนแปลง แก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลง ให้การสนับสนุนการเปลี่ยนแปลง

คุณลักษณะของผู้นำการเปลี่ยนแปลง สามารถทำงานกับคนหลากหลายรูปแบบ (An ability to work with a wide range of people) มีทักษะในการติดต่อสื่อสาร ( Good communication skills) เข้าใจถึงความจำเป็นที่จะต้องเปลี่ยนแปลง ( A good understanding of why change is necessary) มีทรัพยากรสนับสนุนอย่างเพียงพอ (Sufficient resources to make change happen) กล้าเสี่ยง (Able to take and tolerate risk) มอบหมายงานเป็น (Able to delegate) มีทักษะการฟัง (Able to listen to what other people are saying) สามารถตอบสนองต่อสิ่งที่ได้รับฟัง (Able to respond to what people are saying) มีทักษะในการเสนอความคิดเห็น (Good sale skills)

คุณลักษณะของผู้นำการเปลี่ยนแปลง มีทักษะในการคิดวิเคราะห์ (Good analytical and conceptual skills) มีทักษะในการแก้ปัญหา (Be skilled in problem-solving techniques) สามารถกำกับ/สอนงานได้ ( Be an able and willing coach) เป็นผู้สร้างทีม (Be a good builder to team effectiveness) คอยติดตามความก้าวหน้า ( Be able to keep track of progress) มุ่งเน้นการเปลี่ยนแปลง (Be able to maintain focus in a changing environment) สนใจที่จะเปลี่ยนแปลงให้ดีขึ้น (Be interested in the company and in change) มีความรู้ในด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์ (Good knowledge of the product development) มีประสบการณ์ที่หลากหลาย (Be creditable)

คุณลักษณะของผู้นำการเปลี่ยนแปลง มองโลกในแง่ดี (Be optimistic) มีความสามารถในการนำเสนอ (An ability to present the results in a way that easy to understand) มีความประพฤติที่เหมาะสม (Able to behave in the project as if the change has already occurred) ทำงานต่อได้ ( Be able to stay with the change project) สามารถกลับไปทำงานบริหารได้ (Be able to go back to top management)

วัฒนธรรมเพื่อการเปลี่ยนแปลง วัฒนธรรมการสื่อสาร การสื่อสารแบบเปิด * เพื่อให้เกิดการรับรู้ * เพื่อให้เกิดความเข้าใจ * เพื่อให้เกิดการสนับสนุน * เพื่อให้เข้ามามีส่วนร่วม * เพื่อให้เกิดพันธกิจ วัฒนธรรมในการเรียนรู้ รูปแบบการเรียนรู้ * จากประสบการณ์ตรง * จากการสังเกตอย่างไตร่ตรอง * จากการนึกคิดจินตนาการ * จากการทดลอง

ปัจจัยสำคัญสำหรับการบริหารการเปลี่ยนแปลง องค์กรต้องมีการวางแผนการบริหารการเปลี่ยนแปลงที่ดี ผู้นำที่กระตือรือร้น (Active Leadership) เป้าหมายชัดเจน ประสิทธิภาพของการสื่อสาร การอบรมที่มีประสิทธิภาพ การสร้างวัฒนธรรมใหม่ ระบบการตอบแทน/การให้รางวัล

ถามมา ตอบไป Q &A