สถาบันการศึกษา.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื่อง การบริหารจิตเพื่อสุขภาพ
Advertisements

การพูด.
บทที่ 7 ศาสนา Religion.
พุทธธรรม นำบุคลิกภาพ อ.วิยะดา วรธนานันท์ สำนักการศึกษาต่อเนื่อง
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
2 ข้อนี้จัดเข้าในปัญญา
ครูที่ปรึกษา อ. สุทิน ขำการ
ลักษณะของหลักสูตร หลักสูตรที่เน้นเนื้อหาเป็นหลักสำคัญ
บุญ ๑๐ วิธี ๑ . ให้ทาน แบ่งปันผู้อื่นด้วยสิ่งของไม่ว่าจะให้ใครก็เป็นบุญสิ่งของที่เราแบ่งปันจะเป็นประโยชน์กับบุคคลหรือชุมชนโดยส่วนรวม.
โฆษณาปฏิบัติธรรมทั่วประเทศ โดย เสถียรธรรมสถาน
การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และชุมชน
ชื่อเรื่อง ไตรสิกขาพัฒนาสุขภาพจิต จัดทำโดย ด. ช
ความเชื่อในพระพุทธศาสนา ในทองถิ่นที่ดีต่อสุขภาพกาย
การดื่มแอลกอฮอล์และการบริหารจิตและการเจริญปัญญา
ใช้สติอย่างสร้างสรรค์ ชีวิตทุกวันจะปลอดภัย
เรื่องไตรสิขาพัฒนาสุขภาพจิต
พลเมืองดีตามประเพณี และวัฒนธรรมไทย
ชีวิตและวัฒนธรรมไทย
หัวใจของแผน HRD หัวใจของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
การปรับตัวและการเลือกคู่ครอง
กระบวนการฝึกวิธีคิด แบบโยนิโสมนสิการ
Session 2 “ใช้เรื่องเล่า พาเข้าหลักคิด”
การสร้างสื่อประสมบทเรียนช่วยสอน Multimedia ผ่าน Internet
หลักสูตรการจัดการทั่วไป
มนุษย์จะได้ชื่อว่าเป็นผู้ที่มีคุณภาพชีวิตที่ดีได้ ก็เพราะการรู้จักเลือกประกอบกิจกรรมนันทนาการ สรุปเนื้อหาสาระจาก นันทนาการและการจัดการ พีระพงศ์ บุญศิริ
ในฐานะสื่อกลางของความคิด
จรรยาบรรณวิชาชีพ.
บทบาทของโรงเรียนต่อชุมชน
วิชาชีพครูไทยในปัจจุบันและอนาคต
ความเปลี่ยนแปลงที่มีผลกระทบต่อการศึกษาและวิชาชีพครู ในปัจจุบันและอนาคต
การจัดการศึกษาในชุมชน
การศึ กษา ในระบบ นอกระบบ ธรรมดา วิสัย. การศึ กษา ยั่งยืน การ พัฒนา พึ่งพิง ภายนอก พัฒนา พื้นฐาน เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม การเมือง.
๓ สถาบันทางสังคม (Social Institution)
ธรรมนูญชีวิตที่ดีงาม
ขวัญในงานธุรกิจอุตสาหกรรม
ภูมิปัญญาทางภาษา มีภูมิปัญญาไทยแฝงตัวอยู่มากมาย ทั้งการดำเนินชีวิต
เรียนรู้ จาก VDO ของ KMI
๒.๒.๒ ลักษณะและคำสอนสำคัญ ๑) ลักษณะสำคัญของพระพุทธศาสนา ปัญญา
มาตรฐานชีวิตชาวพุทธ วางรากฐานชีวิต ทำชีวิตให้ถึงจุดหมาย.
เคล็ดลับในการฝึกงาน ให้ประสบความสำเร็จ!!!
วัยรุ่นกับปัจจัยทางสังคมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ
รู้และเข้าใจเรื่องของชีวิต
ชีวิตที่พอเพียงสู่ความสุขที่ยั่งยืน
วันอาสาฬหบูชา.
เรื่อง การบริหารจิตเพื่อสุขภาพ จัดทำโดย นาย ภัทรพงศ์ สินเติม
ประวัติการศึกษาไทย.
รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม (มคอ.4)
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
วิธีการฝึกอบรม ลูกเสือสามัญ
ครั้งที่ ๒.
สถาบันศาสนา หมายถึง แบบแผนของความคิดการกระทำในเรื่องเกี่ยวกับ จิตใจ ความเชื่อทางสังคม ทางศาสนา และเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรม ประกอบด้วย 3 ประการ คือ.
สมาชิก นายธนากร กุจิรพันธ์ ม. 4/6 เลขที่3 นายภูวพงษ์ ภุมราพันธุ์ ม
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พุทธรักษ์ ปราบนอก
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
นายณัฐวุฒิ ปานแก้ว รหัส 039 คอม ปวช 1/2
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
การอนุรักษ์ ส่งเสริมประเพณี ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
แก้ปัญหาพฤติกรรมการขาดความรับผิดชอบในการส่งงานโดยใช้หลักไตรสิกขา
จุดมุ่งหมายของพระพุทธศาสนา
บทที่ 2 ทฤษฏีจริยธรรม.
อริยสัจ 4.
เรื่อง การใช้ภาษาในการพูด ผู้สอน ครูณรงค์ฤทธิ์ ศักดารณรงค์
จัดทำโดย ปฏิภาณ ไชยกุล อดิศร สุดดวง
ความเป็นครู.
การนำเสนอผลงานวิจัย โดย : นายเอกพงษ์ วรผล.
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
การดำเนินงาน กศน.ตำบลให้ประสบความสำเร็จ
พุทธปรัชญา ความเป็นมา พุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติ
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
กรอบแนวคิดการพัฒนาหลักสูตรช่วงชั้นที่ 3 และ 4
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สถาบันการศึกษา

ความหมาย ของคำว่า Education มาจากภาษาลาติน ว่า Educare educere

ความหมายของคำว่าการศึกษา “ศึกษา” มาจากภาษาสันสกฤต ตรงกับภาษาบาลี ว่า สิกขา ในทางพุทธศาสนา การศึกษา เป็นกระบวนการพัฒนาบุคคลให้ดียิ่งขึ้น ทั้ง ทางกาย วาจา ใจ และสติปัญญาคือ ทางกายและวาจา ศีล ทางใจ สมาธิ ทางปัญญา ปัญญา

สรุป ความหมายของการศึกษา สรุป ความหมายของการศึกษา คือ วิธีการทำให้คนเกิดความต้องการอยากพัฒนาตนเอง และเรียน รู้อย่างต่อเนื่องไปเรื่อยๆตลอดชีวิต เพื่อให้เกิดความเจริญงอกงาม และพัฒนาให้ดีขึ้น มีชีวิตที่ถูกต้องดีงาม และมีสมรรถภาพ เป็นประโยชน์และมีความสุขทั้งตนเองและสังคม

ปณิธานในการจัดการศึกษา จุดมุ่งหมายพื้นฐานคือ ให้ผู้ศึกษาได้รับความรู้ และนำความรู้มาประยุกต์ใช้กับการเปลี่ยนแปลงของสังคม ในลักษณะที่ก่อให้เกิด ผลดี ทั้งต่อตนเองและสังคมโดยส่วนรวม

ความรู้ คือ สิ่งที่เราไม่เคยมีประสบการณ์มาก่อน เมื่อเราได้ ฟัง ดู ดม ลิ้มรส สัมผัสทางกาย เราได้รู้จักประสบการณ์นั้น จะเกิดการรู้ และจำได้หมายรู้

ความรู้มี 3 สาขา คือ 1. วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ 2. สังคมศาสตร์ 3. มนุษยศาสตร์

จุดเริ่มต้นของการศึกษา จุดเริ่มต้นของการศึกษา เรียก ปัจจัยแห่ง สัมมาทิฏฐิ มี 2 อย่าง คือ 1. ปัจจัยภายนอก ( ปรโตโฆสะ ) อาจเรียกวิธีการ แห่งศรัทธา 2. ปัจจัยภายใน (โยนิโสมนสิการ ) อาจเรียกวิธีการแห่งปัญญา

กระบวนการของการศึกษา จะดำเนินไปภายในตัวบุคคล มีสัมมาทิฏฐิ เป็นแกนนำหรือเป็นฐานของการศึกษามี 3 ขั้นตอน เรียก ไตรสิกขา คือ 1. การฝึกอบรมทางปัญญา เรียกว่า ปัญญา 2. การฝึกอบรมทางความประพฤติ เรียกว่า ศีล 3. การฝึกอบรมทางจิตใจ เรียกว่า สมาธิ

หลักอริยมรรค 8 1.สัมมาทิฏฐิ ( เห็นชอบ ) 2. สัมมาสังกัปปะ ( ดำริชอบ ) 1.สัมมาทิฏฐิ ( เห็นชอบ ) 2. สัมมาสังกัปปะ ( ดำริชอบ ) 3. สัมมาวาจา ( วาจาชอบ ) 4. สัมมากัมมันตา ( กระทำชอบ ) 5. สัมมาอาชีวะ (อาชีพชอบ) 6. สัมมาวายามะ (พยายามชอบ ) 7.สัมมาสติ ( ระลึกชอบ ) 8. สัมมาสมาธิ (จิตตั้งมั่นชอบ )

ภาพ : กระบวนการของการศึกษา ความสงสัย จุดเริ่มต้น ของการศึกษา แสวงหาคำตอบ ปรโตโฆสะ โยนิโสมนสิการ สัมมาทิฏฐิ ปัญญา กระบวนการของการศึกษา ศีล สมาธิ ปัญญาขั้นสูง

ปัญญา คือ ความรู้ ความเข้าใจ รู้ซึ้ง เป็นความเข้าใจสิ่งต่างๆตามที่เป็นจริง รู้ถึงเหตุ รู้ถึงผล รู้ความสัมพันธ์ของปัจจัยต่างๆ สามารถคิดอย่างแยบคายถูกต้อง

แหล่งเกิดปัญญามี 3 ทางคือ สุตมยปัญญา จินตมยปัญญา ภาวนามยปัญญา

ประเภทของปัญญามี 2 ประเภท โลกียปัญญา โลกุตตรปัญญา

ผู้ที่จบการศึกษาแล้วจะพัฒนา 4 อย่างคือ พัฒนากาย พัฒนาศีล พัฒนาจิต พัฒนาปัญญา

รูปแบบของการศึกษามี 3 รูปแบบ การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ การศึกษาตามอัธยาศัย

หน้าที่ของสถาบันทางการศึกษา มีหน้าที่สำคัญ 2 ประการ คือ ๑. การธำรงสังคม ( Conservative Functions ) ๒. การเปลี่ยนแปลงสังคม ( Innovative Functions ) แต่ละหน้าที่ยังแยกออกเป็น หน้าที่หลัก ( Manifast Functions ) หน้าที่แฝง ( Latent Functions )

๑.หน้าที่การธำรงสังคม( Conservative Functions ) 1. หน้าที่หลัก ( Manifest Functions ) (1) การดำรงรักษา และถ่ายทอดมรดกทางวัฒนธรรม (2) การบูรณาการทางสังคม (Social Integration ) (3) การควบคุมทางสังคมและการสร้างสมาชิกที่ดีของสังคม (4) การฝึกอบรมและพัฒนาแรงงาน

(5)ปลูกฝังความคิดความเชื่อ (6) การคัดเลือกบุคคลเข้าสู่อาชีพต่างๆ (7) ธำรงวัฒนธรรมรอง (8) การรักษาความมั่นคงปลอดภัยของชาติและสังคมส่วนรวม

2. หน้าที่แฝง ( Latent Functions ) (1) การดูแลเด็ก (2) การรับส่งทอดหน้าที่ด้านการขัดเกลาทางสังคมหรือการเรียนรู้ทางสังคม (3) ลดอัตราการว่างงาน และยืดความเป็นหนุ่มเป็นสาวให้ยาวขึ้น (4) การจัดเตรียมประสบการณ์ในด้านเพศศึกษา และด้านการเลือกคู่ครอง (5) ความสัมพันธ์ของบุคคลที่มาจากสถาบันเดียวกัน มีผลต่อการเลื่อนตำแหน่ง และหน้าที่การงาน

๒.หน้าที่ การเปลี่ยนแปลงสังคม ( innovative Functions ) 1. หน้าที่หลัก ( Manifest Functions ) (1) สร้างวัฒนธรรมใหม่และเผยแพร่ (2) ส่งเสริมการพัฒนาส่วนบุคคล ( 3) การเตรียมคนให้มีชีวิตที่ดี (4) การสร้างโอกาสเพื่อการเลื่อนชั้นทางสังคม (Socail Mobility) (5) ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคม (Social Change)

2. หน้าที่แฝง ( Latent Functions ) (1) สร้างปัญญาชนที่นำหน้าให้กับสังคม (2) เป็นการเพาะผู้นำในการปฏิรูปสังคม (3) การทำให้คนสามารถปรับตัวได้ (4) การสร้างกลุ่มพลังทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม (5) การจำแนกประเภทของคน (6) สร้างความสำนึกให้ชนกลุ่มน้อย