ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รายละเอียดวิชา ง การงานพื้นฐาน4(คอมพิวเตอร์2)
Advertisements

กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี โรงเรียนมัธยมวานรนิวาส
กิจกรรมที่ 9 ระดับสารสนเทศ จุดประสงค์ อธิบายและจำแนกระดับสารสนเทศ.
ศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ ธำรงธัญวงศ์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
ระบบสารสนเทศ.
การวางแผนพัฒนาระบบสำนักงาน
บทที่ ๑ ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการวิเคราะห์ และออกแบบระบบสารสนเทศ (Introduction to Information System Analysis) 22/7/03 บทที่
หลักการวางแผนประชาสัมพันธ์
Technology Application
Information System and Technology
ระบบสารสนเทศและการพัฒนาระบบ Information Systems and System Development
   ฮาร์ดแวร์ (Hardware)               ฮาร์ดแวร์เป็นองค์ประกอบสำคัญของระบบสารสนเทศ หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์รอบข้าง รวมทั้งอุปกรณ์สื่อสารสำหรับเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าเป็นเครือข่าย.
ระหว่างวันที่ กรกฎาคม 2554 โรงเรียนตากพิทยาคม
บทที่ 3 ระดับของสารสนเทศ.
เรื่อง ประเภทของสาระสนเทศ 3.ระบบสารสนเทศสนับสนุนการตัดสินใจ (DSS)
สุนีย์ พงษ์พินิจภิญโญ
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การกำหนดสมรรถนะ (COMPETENY)
การจัดการระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
ระบบย่อยของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
นาวาอากาศตรีหญิง พรประภา โลจนะวงศกร
ระบบสารสนเทศ เพื่อการจัดการ และกรณีศึกษา
การจัดหา การติดตั้ง และการบำรุงรักษาระบบ
งานธุรการ.
ระบบจัดเก็บค่าน้ำประปา
หน่วยที่ 1 หลักการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โครงงานคอมพิวเตอร์
ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support System)
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (Management Information System :MIS)
Surachai Wachirahatthapong
แบบประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติงานของบุคลากรสภากาชาดไทย
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
บทที่ 3 การวางแผน การบริหารจัดการที่จะประสบความสำเร็จจะต้องมีหน้าที่สำคัญ 4 ประการ การจัดองค์การ การนำ การควบคุม.
ความหมาย ปัญญาประดิษฐ์
ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
บทที่ 11 ระบบสารสนเทศ.
เพิ่มประสิทธิภาพ ผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP ด้านการจัดทำแผนธุรกิจ
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง (Conflict and Negotiation)
การบริหารความเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง ความเสี่ยง (RISK)
การวิจัยดำเนินงาน Operations research
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานในการ พัฒนาระบบ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ โดยหลักการแล้วจะประกอบด้วย 5 ส่วน คือ องค์ประกอบด้านฮาร์ดแวร์ องค์ประกอบด้านซอฟท์แวร์ หน่วยงานหรือตัวบุคคล วิธีการปฏิบัติงาน.
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
การออกแบบฐานข้อมูลและการบริหารธุรกิจ
Information Technology
การตรวจรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) 1.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด4 10คำถาม.
การบัญชีเพื่อการจัดการ (Managerial Accounting) BY MANATSADA
บทที่ 3 Planning.
Self Assessment Self Assessment คือการประเมินตนเอง คือวิธีการที่จะทำให้องค์กรได้ทราบถึงสมรรถนะ จุดอ่อน จุดแข็งของตนเอง สามารถนำไปใช้ในการวางแผน ปรับปรุงองค์กรให้มีประสิทธิภาพ.
การบริหารและกระบวนการวางแผน
บุคลากรคอมพิวเตอร์.
การนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาสนับสนุนการทำงาน
ระบบสารสนเทศ เพื่อการบริหาร
การจัดการฐานข้อมูล.
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ และบทบาทของนักวิเคราะห์ระบบ
โครงสร้างขององค์การ.
งานเทคโนโลยีสารสนเทศ โรงเรียนพนมเบญจา
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบ Introduction to the System
จัดทำโดย เด็กชายสุวพิชญ์ สินธุแปง เลขที่ 14
ICTs จะช่วยอำนวยความสะดวกในการพัฒนาประเทศใน 3 ลักษณะ
โรงเรียนเทคโนโลยีภูเขียว
การวิเคราะห์และออกแบบระบบ System Analysis and Design
บทที่ 11 ระบบสารสนเทศ.
ความหมายและบทบาทของ เทคโนโลยีสารสนเทศ
แผนภูมิองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
โครงการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่ดำเนินการในปีงบประมาณ 2553
การวางแผนและการจัดการเชิงกลยุทธ์ (Planning & Strategic Management)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ ทฤษฎีการตัดสินใจ คือ การศึกษากลยุทธ์ และยุทธวิธี โดยคำนึงทรัพยากรที่มีอยู่ และสภาวะการณ์โดยรอบ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่ตั้งไว้ การตัดสินใจเป็นสิ่งสำคัญที่สามารถกำหนดให้องค์การนั้นคงอยู่ได้ หรือล้มเหลว เพราะนั้นผู้บริหารจะต้องเป็นผู้ทำการตัดสินใจ โดยต้องการเครื่องมือช่วย การตัดสินใจที่ดี จะต้องมีการปฏิบัติที่ดี และถูกต้องตามแนวทางด้วย

ขั้นตอนในการตัดสินใจ ระบุปัญหาให้ชัดเจน หาทางเลือกที่เป็นไปได้ในการแก้ปัญหา หาความเป็นไปได้ของทางเลือกแต่ละเส้นทาง เลือกทางเลือกที่ดีที่สุดแก่องค์การ นำทางเลือกที่ได้เลือกไว้แล้วไปปฏิบัติ การตรวจสอบผลการปฏิบัติงาน

ระดับการตัดสินใจ

ประเภทของการตัดสินใจ การตัดสินใจแบบมีโครงสร้าง การตัดสินใจแบบไม่มีโครงสร้าง การตัดสินใจแบบกึ่งโครงสร้าง

ความหมายของ DSS เป็นระบบสารสนเทศ ช่วยในการตัดสินใจแบบไม่มีโครงสร้าง และแบบกึ่งโครงสร้างของผู้บริหาร ประเมินทางเลือกที่เป็นไปได้ วิเคราะห์ข้อมูลในหลายๆ ด้านได้ และวิเคราะห์ข้อมูลที่สลับซับซ้อน ได้อย่างรวดเร็ว และถูกต้อง ประสานงานระหว่าง บุคคล และโปรแกรม

คุณสมบัติของ DSS เหมาะกับการนำมาใช้ในการตัดสินใจแบบกึ่งโครงสร้าง ง่ายในการใช้งาน ปรับปรุงได้ง่าย

องค์ประกอบของ DSS ฮาร์ดแวร์ คือ คอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์สื่อสาร ระบบการทำงาน ประกอบด้วย ระบบของโปรแกรม รูปแบบที่ใช้ในการสนับสนุนการตัดสินใจ ฐานข้อมูล ข้อมูล บุคลากร เช่น ผู้ใช้ และผู้บริหารระบบ

ระบบสนับสนุนการตัดสินใจกลุ่ม หรือ GDSS เป็นการใช้ระบบสารสนเทศช่วยในการตัดสินใจในรูปของคณะกรรมการ ประกอบด้วย ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ กลุ่มบุคคล