การบริหารงานวิจัยในลักษณะ กลุ่มงานวิจัย/ศูนย์วิจัยเฉพาะทาง ศาสตราจารย์ ดร. อมเรศ ภูมิรัตน คณบดี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
วิสัยทัศน์ของ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล การสร้างบุคลากร การวิจัย คณะวิทยาศาสตร์ เป็นสถาบันการศึกษาชั้นนำ ของเอเซียที่เน้น และ ทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมไทยให้เป็นสังคมแห่งปัญญา การวิจัย การสร้างบุคลากร
เอกลักษณ์เฉพาะทางด้านงานวิจัย KPI : จำนวน publication 242 per year (2546) หรือ 0.8 ต่อคนต่อปี : จำนวน Research grant 174 ล้านบาท (2546) หรือ 580,000 ต่อคนต่อปี ... งานวิจัยเป็นวัฒนธรรมองค์กร ของคณะวิทยาศาสตร์...
เป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มวิจัยที่ค่อนข้างใหญ่ (20-25 คน) 1. หัวหน้าห้องปฏิบัติการ 2. ศาสตราจารย์อาคันตุกะ (Visiting Professor) 3. นักวิจัยหลังปริญญาเอก (Post-doctoral) 6. นักศึกษาปริญญาโท 4. นักวิจัย-นักวิทยาศาสตร์ 5. นักศึกษาปริญญาเอก 7. นักศึกษาปริญญาตรี การร่วมงานวิจัย ระดับนานาชาติ การร่วมงานวิจัย ระดับประเทศ Center of Excellence
ทุนสนับสนุนงานวิจัยของมหาวิทยาลัยมหิดล ทุนส่งเสริมนักวิจัยรุ่นใหม่ ทุนส่งเสริมโครงการวิจัยประยุกต์/มุ่งเป้า/ร่วมทุน ทุนส่งเสริมนักวิจัยรุ่นกลาง ทุนสนับสนุนการวิจัยระยะสั้นที่ต่างประเทศ ทุนอุดหนุนนักวิจัย (RF) ทุนพัฒนาศักยภาพของอาจารย์รุ่นใหม่ (Small grant)
Center of Excellence/Consortium of Excellence/ Capability Building Unit เทคโนโลยีชีวภาพกุ้ง (Centex Shrimp) ศูนย์สังเคราะห์ภาคสามมิติระดับ นาโนของตัวอย่างชีวภาพ (CBN) โครงสร้างและการทำงาน ของโปรตีน (Protein) Established วิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยียาง (Rubber) เครือข่ายการวิจัยเพื่อความ เป็นเลิศด้านการวิจัยแคลเซี่ยม และกระดูก (Ca++) Nanoscience and Nanotechnology หน่วยวิจัยประสาทวิทยาศาสตร์ พาหะและโรคที่นำโดยพาหะ (Vector borne disease)
การสนับสนุนกลุ่มวิจัย การสนับสนุนรายบุคคล แหล่งทุนระดับชาติ แหล่งทุนระดับนานาชาติ แหล่งทุนจากคณะ ทุนริเริ่มนักวิจัย ทุนผลิตสื่อการสอน การสนับสนุนกลุ่มวิจัย Center of Excellence Capability Building Unit Technology Innovation Unit การสนับสนุน งบประมาณ 10 ล้านบาท/ปี สถานที่: ห้องปฏิบัติการใหญ่, ห้องปฏิบัติการเล็ก, ห้องประชุม, ห้องเตรียม Lab, ห้องทำงาน, สิ่งอำนวยความสะดวกในการวิจัย
ความสำเร็จของหน่วย Centex Shrimp (ภายหลังการดำเนินงาน 3 ปี) KPI : จำนวน publication 242 per year (2546) *หรือ 0.8 เรื่องต่อคนต่อปี : จำนวน Research grant 174 ล้านบาท (2546) **หรือ 580,000 บาทต่อคนต่อปี นักวิจัยหลัก 3 คน นักวิจัยร่วมและนักศึกษาโท/เอก จำนวน 39 คน ผลงานตีพิมพ์ในวารสารนานาชาติ 12 เรื่องต่อปี *หรือ 4 เรื่องต่อคนต่อปี จำนวน Research grant 10 ล้านบาทต่อปี **หรือ 3.3 ล้านบาทต่อคนต่อปี
ในปี 2548 คาดว่าจะเกิดบริษัท Spin-off เกิดโครงการการระดับประเทศร่วมกับ Biotec กองทัพเรือ และ ม.สงขลานครินทร์ ที่ จ.นครศรีธรรมราช เกี่ยวกับการเพาะเลี้ยงพ่อ-แม่พันธุ์กุ้งกุลาดำ ด้วยงบประมาณ 100 ล้านบาท ในปี 2548 คาดว่าจะเกิดบริษัท Spin-off 1 บริษัท โดยการลงทุนประมาณ 14 ล้านบาท ร่วมกันระหว่าง คณะวิทยาศาสตร์ Biotec และบริษัท STANG โดยจัดตั้ง บริษัท Shrimp Biotechnology Business Unit (SBBU)
ตัวอย่างผลสำเร็จของหน่วย Center of Excellence นี้ คณะฯ คาดว่า ใน ขึ้นอีก 2 หน่วย คือ นาโนศาสตร์และนาโนเทคโนโลยี เทคโนโลยีชีวภาพกุ้ง (Centex Shrimp) โครงสร้างและการทำงาน ของโปรตีน (Protein) วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยียาง (Rubber) ศูนย์สังเคราะห์ภาคสามมิติระดับ นาโนของตัวอย่างชีวภาพ (CBN) พาหะและโรคที่นำโดยพาหะ (Vector borne disease) เครือข่ายการวิจัยเพื่อความ เป็นเลิศด้านการวิจัยแคลเซี่ยม และกระดูก (Ca++) หน่วยวิจัยประสาทวิทยาศาสตร์ Established Cassava molecular Biotechnology Consortium on Emerging And Re-emerging Diseases
โครงการพ่อพันธุ์แม่พันธุ์กุ้ง โครงการศูนย์วิจัยยาง อนาคต อาจเป็นไปได้ว่า ในอนาคตอาจมีความร่วมมือของ Center of Excellence กับหน่วยงานอื่นๆ (คณะ สถาบัน) ของมหาวิทยาลัยเพื่อก่อให้เกิดกลุ่มวิจัยที่ใหญ่ขึ้น เช่น โครงการพ่อพันธุ์แม่พันธุ์กุ้ง โครงการศูนย์วิจัยยาง โครงการความร่วมมือกับ IRD ทางด้านพาหะของโรค โครงการที่ได้รับการสนับสนุนจาก ADB ในอนาคต * 2nd phase PERCH * 2nd phase for Environmental Toxicology project * 2nd phase for Agriculture Biotechnology Project * 1st phase consortium in Physics * 1st phase consortium in Mathematics
MU - OU : CRC ความช่วยเหลือด้านเครื่องมือวิทยาศาสตร์จาก Osaka University ในวงเงินประมาณ 40 ล้านบาท มีนักวิทยาศาสตร์ชาวญี่ปุ่นอยู่ที่หน่วยอย่างน้อย 2 ท่าน ตลอดเวลา เงินทุนวิจัยเพื่อนำนักวิทยาศาสตร์จากมหาวิทยาลัยอื่นมาทำวิจัยในหน่วย UNESCO course Cyber course นักวิจัยของ ม.มหิดล เป็น Visiting Professor ที่ Osaka University (one man year) Student Exchange program
แนวทาง "บูรณาการ" หลักสูตรระดับปริญญาตรี กลุ่มหลักสูตรวิทยาศาสตร์กายภาพ กลุ่มหลักสูตรวิทยาศาสตร์ชีวภาพ เคมี ฟิสิกส์ ชีววิทยา เทคโนโลยีชีวภาพ คณิตศาสตร์ คอมพิวเตอร์ พฤกษศาสตร์ Integrated Science Curriculum รายวิชา Major รายวิชาพื้นฐาน ความรู้ทั่วไป 30 หน่วยกิต รายวิชา Honor 15 หน่วยกิต รายวิชา Minor
แนวทาง "บูรณาการ" หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา MSc.-PhD Programs in Molecular and system sciences MSc.-PhD programs in Computational Sciences MSc.-PhD programs in Material Sciences MSc.-PhD programs in Forensic Sciences Bioinformatics Nano Science and Technology Molecular Toxicology Molecular and Plant science Molecular Immunology Molecular microbiology And biotechnology Molecular and Cell Biology Molecular medicine
แนวทาง "บูรณาการ" บุคลากรสายวิชาการ Science Cafe Microbial Products: Product for a (Better) Future งานวิจัยว่านชักมดลูก : สมุนไพรศักยภาพ
ขอบคุณ