หน่วยที่ 6 การแทรกสอดคลื่นแสง.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เสียง ข้อสอบ o-Net.
Advertisements

ข้อสอบ o-Net คลื่นกล.
WAVE อ.จักรพันธ์ จอมแสนปิง (NoTe) รร. สตรีสมุทรปราการ.
Photochemistry.
Mid-Term & Assignment สุริยา วิทยาประดิษฐ์ EEET0470
ทัศนศาสตร์(Optics) วิชาศึกษาธรรมชาติแสงและการมองเห็น.
การหักเห เมื่อแสงเคลื่อนที่จากตัวกลางหนึ่ง ไปอีกตัวกลางหนึ่ง ซึ่งมีอัตราเร็วไม่เท่ากัน โดยมีทิศไม่ตั้งฉากกับรอยต่อระหว่างตัวกลาง แสงจะมีทิศทางเปลี่ยนไป.
ปรากฏการณ์โพลาไรเซชั่น ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
Electromagnetic Wave (EMW)
แสงและการมองเห็น ผู้จัดทำ นางเฉลิมศรี เปียปาน.
มาดูกันครับ ว่ากลางวันกลางคืนเกิดได้อย่างไร
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน Chalermsri Piapan
5 การแทรกสอดของแสง การแทรกสอดจากสองลำแสง
การทดลองที่ 3 สเปกโทรสโกป.
เลเซอร์(Laser) Light Amplification by Stimulated Emission of Radiation
4 โพลาไรเซชันของแสง.
การเลี้ยวเบน (Diffraction)
ทัศนศาสตร์ประยุกต์ 1. บทนำ 2. แสงเชิงเรขาคณิต 3. โพลาไรเซชัน
การสะท้อนและการหักเหของแสง
หน่วยที่ 7 การเลี้ยวเบนและโพลาไรเซชัน
Basic wave theory.
หน่วยที่ 6 การแทรกสอดของคลื่นแสง
Ultrasonic sensor.
Electric force and Electric field
Liquid Crystal Display (LCD)
หมอก  หมอก (Fog) หมายถึงเมฆที่เกิดใกล้พื้นดิน หรือหมายถึง ไอน้ำซึ่งได้กลั่นตัวจนเป็นเม็ดละอองน้ำที่เห็นได้ด้วยตา เล็กละเอียดและเบาล่องลอยอยู่ในอากาศ การเกิดหมอก.
ความหมายและชนิดของคลื่น
สีของแสงที่เหมาะสมกับไก่ไข่
สมบัติของคลื่น 1. การสะท้อน 2. การหักเห 3. การแทรกสอด 4. การเลี้ยวเบน.
ฟิสิกส์ เรื่อง แสง จัดทำโดย นาย ปณิธาน กาญจนถวัลย์ ม.4/3 เลขที่ 12
การแทรกสอดของคลื่น การแทรกสอดของคลื่นเกิดขึ้นจากคลื่นตั้งแต่สองขบวน ขึ้นไปเคลื่อนที่มาพบกัน ทำให้เกิดการรวมกันของคลื่นได้ 2 แบบ คือ แบบหักล้างกันและแบบเสริมกัน.
เ ฮี ย น ฟิ สิ ก ส์ โ ต ย ค รู โ อ๊ บ
การประหยัดไฟฟ้า และพลังงาน
คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 โดย อ.ดิลก อุทะนุต.
การแพร่กระจายคลื่นวิทยุ
การควบคุมมอเตอร์ด้วยอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
การควบคุมหุ่นยนต์โดยใช้ตัวตรวจจับ
กาแล็กซีและเอกภพ.
เรื่อง ตัวกลางของการสื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Bragg Scattering น.ส. ธัญญารัตน์ อุปละ รหัส
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
คลื่นหรรษา ตอนที่ 2 คลื่นหรรษา ตอนที่ 2 อ.ดิลก อุทะนุต.
LASER Light Amplification by Stimulated Emission of Radiation.
ธรรมชาติเชิงคลื่นของสสาร
จะเกิดขึ้นได้กับคลื่น ตามขวาง
สมบัติที่สำคัญของคลื่น
ระบบสี และ การแสดงผลภาพ
Fiber Optic (เส้นใยแก้วนำแสง)
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาพกราฟฟิกส์
กิจกรรม 4.7 สีของรุ้งเกิดขึ้นได้อย่างไร
กล้องโทรทรรศน์.
Physics3 s32203 light light2 บทที่ 12 แสงเชิงฟิสิกส์
การถ่ายภาพ 1 หลักการทางฟิสิกส์เกี่ยวกับระบบแสงของกล้องถ่ายรูปในกรณีทั่วไป น้ำยาเคมีบนฟิล์มและระบบความไวของฟิล์ม กล้องถ่ายรูป เอ็กซ์โพสเซอร์
863封面 ทองคำ เขียว.
สื่อกลางการสื่อสาร สื่อกลางแบบมีสาย 2. สื่อกลางแบบไร้สาย.
เทคโนโลยีไร้สาย Department of Informatics, Phuket Rajabhat University. THAILAND.
ทัศนศาสตร์กายภาพ การแทรกสอด (Interference / superposition)
การหักเหของแสง (Refraction)
แสง การมองเห็น และทัศนอุปกรณ์
โดยครูศกุนต์ ก้อนแก้ว
แบบทดสอบชุดที่ 2 คำชี้แจง จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียวทำลงในกระดาษคำตอบที่กำหนดให้
เหตุการณ์สำคัญด้านเทคโนโลยีจากมุมมองของนักเคมี นวัตกรรมด้านเคมี ด้านวิศวกรรม และด้าน อิเล็กทรอนิกส์ นับตั้งแต่ปลายศตวรรษที่ 19 จนถึง ปัจจุบัน ทำให้มนุษย์สามารถติดต่อสื่อสารกันจากที่ใด.
Module 3 สี และ การวัดค่าสี
หน่วยของสิ่งมีชีวิต จัดทำโดย ด.ญ.ปิยฉัตร ชนะศึก ชั้น ม.1/4 เลขที่ 2
ทัศนศาสตร์กายภาพ The Nature of light
บทที่ 8 คลื่นและคลื่นเสียง
แสงและการมองเห็น Your Text Here.
แสงสีและทัศนูปกรณ์.
หัวข้อในการบรรยาย 1. จำนวนบุคลากรสายสนับสนุน 2. เส้นทางความก้าวหน้า 3. องค์ประกอบของคณะกรรมการประเมินค่างาน 4. ขั้นตอนการแต่งตั้งบุคคลให้ดำรงตำแหน่งสูงขึ้น.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หน่วยที่ 6 การแทรกสอดคลื่นแสง

แสงช่วงที่ตามนุษย์มองเห็น เป็นส่วนหนึ่งของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ความยาวคลื่น: 400-700 นาโนเมตร

Optics ทัศนศาสตร์เชิงเลขาคณิต (Geometrical Optics) การสะท้อน (reflection) การหักเห (refraction) … ทัศนศาสตร์เชิงกายภาพ (Physical Optics) การแทรกสอด (interference) การเลี้ยวเบน (diffraction) โพลาไรเซชัน (polarization)

ตอนที่ 6.1 การแทรกสอดของคลื่นแสงจากแหล่งกำเนิดแสง 2 แหล่ง ตอนที่ 6.1 การแทรกสอดของคลื่นแสงจากแหล่งกำเนิดแสง 2 แหล่ง เงื่อนไขของการแทรกสอด การทดลองแบบช่องเล็กยาวคู่ การแทรกสอดโดยการสะท้อนจากฟิล์มบาง อินเตอร์ฟีรอมิเตอร์ของไมเคิลสัน

การแทรกสอด

การแทรกสอด การแทรกสอดแบบเสริม (Constructive Interference)       d2 - d1 =  n l ,  n = 0, 1, 2, 3, ..... ---------------------------------- ความแตกต่างจะต้องมีค่าเท่ากับจำนวนเท่าของความยาวคลื่น

การแทรกสอด การแทรกสอดแบบหักล้าง (Destructive Interference) d2 - d1 =  (2n + 1) (l/2)       n = 0, 1, 2, 3, ....

เงื่อนไขการแทรกสอด แหล่งกำเนิดแสงต้องเป็นแหล่งกำเนิดแสงอาพันธ์ แหล่งกำเนิดแสงต้องให้แสงสีเดียวกัน การรวมกันของคลื่นต้องเป็นไปตามหลักการทับซ้อนของคลื่น

การทดลองแบบช่องเล็กยาวคู่ของยัง (Young's Double Slit Experiment) (Thomas Young, ค.ศ. 1801)

การทดลองแบบช่องเล็กยาวคู่ของยัง (Young's Double Slit Experiment) (Thomas Young, ค.ศ. 1801)

การทดลองแบบช่องเล็กยาวคู่ของยัง (Young's Double Slit Experiment) ความต่างวิถี (path difference) d = d sinq แถบสว่าง:     d = d sinq = ml แถบมืด:     d = d sinq = (m+1/2)l   m = 0, 1, 2, .... 

การทดลองแบบช่องเล็กยาวคู่ของยัง (Young's Double Slit Experiment) เมื่อ d << L:   sinq ประมาณเท่ากับ tanq = y/L แถบสว่างที่ m:   ym/L = ml/d แถบมืดที่ m:     ym/L = (m+1/2)l/d   m = 0, 1, 2, .... 

ตัวอย่าง: ในการทดลองของยัง ถ้าระยะห่างระหว่างช่องเล็กยาวเป็น 0 ตัวอย่าง: ในการทดลองของยัง ถ้าระยะห่างระหว่างช่องเล็กยาวเป็น 0.1 มิลลิเมตร และระยะห่างจากช่องเล็กยาวคู่ถึงฉากเป็น 50 เซนติเมตร จงคำนวณหาระยะห่างบนฉากระหว่างแถบสว่างที่อยู่ติดกัน ของแสงที่สีม่วงที่มีค่าความยาวคลื่น 400 นาโนเมตร แถบสว่างที่ m:   ym/L = ml/d ระยะห่างระหว่างแถบสว่างที่ติดกัน ym+1 - ym = (m+1)lL/d - mlL/d = lL/d = (400 nm)(500 mm)/0.1m = 2,000,000 นาโนเมตร = 2 มิลลิเมตร

ความเข้มของริ้วจากช่องเล็กยาว 2 ช่อง Iave=2I0cos2(f/2) d<<L: f=2pdy/(lL) Iave=2I0cos2(pdy/(lL))

การแทรกสอดโดยการสะท้อนจากฟิล์มบาง สีบนผิวน้ำมันที่ราดบนถนน สีบนฟองสบู่ สีบนขนนกยูง วงแหวนนิวตัน ... n1 n2=n n3

การแทรกสอดโดยการสะท้อนจากฟิล์มบาง: n1&n3<n2 แสงที่เดินทางจากตัวกลางที่มีดรรชนีหักเหน้อยกว่าไปกระทบผิวของตัวกลางที่มีดรรชนีหักเหมากกว่า แสงสะท้อนจะมีการเปลี่ยนเฟส 180 องศา แสงที่เดินทางจากตัวกลางที่มีดรรชนีหักเหมากกว่าไปกระทบผิวของตัวกลางที่มีดรรชนีหักเหน้อยกว่า แสงสะท้อนจะไม่มีการเปลี่ยนเฟส

การแทรกสอดโดยการสะท้อนจากฟิล์มบาง: n1&n3<n2 การแทรกสอดที่เกิดจากแสงที่มีเส้นทางเดิน 1 และ 2 -------------------------------- ความยาวคลื่นในฟิล์มบางมีค่าเท่ากับ:   ln = l / n n = ดรรชนีหักเหของฟิล์ม (มีค่ามากกว่า 1) ------------------------------ แสงสะท้อนมีการเปลี่ยนเฟส 180 องศา

การแทรกสอดโดยการสะท้อนจากฟิล์มบาง: n1&n3<n2 แสงตกกระทบผิวฟิล์มในแนวตั้งฉาก เสริมกัน 2t=(m+0.5)ln หรือ 2nt =(m+0.5)l, m=0,1,2,… หักล้างกัน 2t=mln หรือ 2nt =ml, m=0,1,2,… n = ดรรชนีหักเหของฟิล์ม

การแทรกสอดโดยการสะท้อนจากฟิล์มบาง: n1&n3<n2 แสงตกกระทบผิวฟิล์มที่ทำให้มุมหักเหเท่ากับ qr เสริมกัน 2t/cosqr =(m+0.5)ln หรือ 2nt/cosqr =(m+0.5)l, m=0,1,2,… หักล้างกัน 2t/cosqr=mln หรือ 2nt/cosqr =ml, m=0,1,2,… n = ดรรชนีหักเหของฟิล์ม

การแทรกสอดที่ฟิล์มอากาศบาง: n1&n3>n2

การแทรกสอดที่ฟิล์มอากาศบาง: n1&n3>n2 วงแหวนนิวตัน เสริมกัน 2t =(m+0.5)l, m=0,1,2,… n2=1 (อากาศ) หักล้างกัน 2t =ml, m=0,1,2,…

ตัวอย่าง: การทดลองวงแหวนนิวตันหนึ่งใช้แสงความยาวคลื่น 600 นาโนเมตร และเลนส์มีดรรชนีหักเห 1.5 และมีรัศมีความโค้ง R เท่ากับ 2.5 เมตร จงหารัศมี r ของริ้วสว่างที่ 5 ของวงแหวนนิวตัน t<<R r2=R2-(R-t)2 ----> r2 = 2Rt ริ้วสว่างที่ 5 ตรงกับ m=4 t = (4.5)(6x10-7 m)/2 = 1.35x10-6 m r2= 2Rt r= 2.6x10-3 m

การแทรกสอดที่ฟิล์มบาง: n1<n2<n3 การฉาบด้วยฟิล์มไม่สะท้อนแสง เงื่อนไขการแทรกสอดแบบหักล้าง: 2tn = (m+0.5)l ความหนาน้อยที่สุดเมื่อ m=0 t = l/4n หรือ t = ln/4

การแทรกสอดที่ฟิล์มบาง: n1<n2<n3 ตัวอย่าง: จากรูป ให้หาความหนาของซิลิคอนออกไซด์ที่ไม่ทำให้เกิดการสะท้อนของแสงความยาวคลื่น 550 นาโนเมตร การฉาบด้วยฟิล์มไม่สะท้อนแสง t = l/4n t= 550/(4*1.45) t= 94.8 nm

อินเตอร์ฟีรอมิเตอร์ของไมเคิลสัน (Michelson Interferometer) The Michelson interferometer produces interference fringes by splitting a beam of monochromatic light so that one beam strikes a fixed mirror and the other a movable mirror. When the reflected beams are brought back together, an interference pattern results.

อินเตอร์ฟีรอมิเตอร์ของไมเคิลสัน (Michelson Interferometer) Precise distance measurements can be made with the Michelson interferometer by moving the mirror and counting the interference fringes which move by a reference point. The distance d associated with m fringes is d=ml/2

อินเตอร์ฟีรอมิเตอร์ของไมเคิลสัน (Michelson Interferometer) λ = 632.8 nm λ = 420 nm เมื่อขนาดของความแตกต่างของระทางเพิ่มขึ้นริ้วของการแทรกสอดเคลื่อนที่ออก เมื่อขนาดของความแตกต่างของระทางลดลงริ้วของการแทรกสอดเคลื่อนที่เข้า

ตอนที่ 6.2 การแทรกสอดของคลื่นแสงจากแหล่งกำเนิดแสงหลายแหล่ง ตอนที่ 6.2 การแทรกสอดของคลื่นแสงจากแหล่งกำเนิดแสงหลายแหล่ง การบวกเฟเซอร์ของคลื่น (ริ้วแทรกสอดที่เกิดจากช่องเล็กยาว 2 ช่อง) ริ้วแทรกสอดที่เกิดจากช่องเล็กยาว 3 ช่อง ริ้วแทรกสอดที่เกิดจากช่องเล็กยาว N ช่อง

เฟสของคลื่น

การบวกเฟเซอร์ของคลื่น ที่ตำแหน่ง P

การบวกเฟเซอร์ของคลื่น กำหนดให้ เป็นความต่างเฟส (phase difference) จากความสัมพันธ์ ผลรวมของคลื่นขึ้นอยู่กับความต่างเฟส การรวมคลื่นวิเคราะห์แบบการบวกเฟเซอร์

การบวกเฟเซอร์ของคลื่น E1 ถ้า แล้วจะได้ E2 หรือ Ep โดยที่

การบวกเฟเซอร์ของคลื่น Ep

ริ้วแทรกสอดที่เกิดจากช่องเล็กยาว 3 ช่อง

ริ้วแทรกสอดที่เกิดจากช่องเล็กยาว 3 ช่อง

ริ้วแทรกสอดที่เกิดจากช่องเล็กยาว 3 ช่อง ค่าสูงสุดปฐมภูมิ (primary maximum) ค่าสูงสุดทุติยภูมิ (secondary maximum) 3 slit vs. double slit 3 slit

ริ้วแทรกสอดที่เกิดจากช่องเล็กยาว N ช่อง