คณิตศาสตร์ธุรกิจ วันอังคาร 9:00-12:00 น. กลุ่ม 1 ห้อง B1138

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
อสมการ 1.1 อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
Advertisements

CSI1201 การเขียนโปรแกรมเชิงโครงสร้าง Structured Programming
บทที่ 3 ลำดับและอนุกรม (Sequences and Series)
การดำเนินการของลำดับ
Number Theory (part 1) ง30301 คณิตศาสตร์ดิสครีต.
คณิตศาสตร์เพิ่มเติ่ม ค เรื่อง วงกลม โดย ครูนาตยา บุญเรือง
BC320 Introduction to Computer Programming
ชื่อสมบัติของการเท่ากัน
บทนิยาม1.1 ให้ m, n น 0 เป็นจำนวนเต็ม n หาร m ลงตัวก็ต่อเมื่อ มี c ฮ Z ซึ่ง m = nc เรียก n ว่า ตัวหาร (divisor) ตัวหนึ่งของ m ใช้ n|m แทน " n หาร m ลงตัว.
Chapter 1 โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริธึมส์
Data Structures and Algorithms
Data Structures and Algorithms
Introduction to computer programming
ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น โดย ครูภรเลิศ เนตรสว่าง โรงเรียนเทพศิรินทร์
จำนวนเต็ม จำนวนเต็ม  ประกอบด้วย                   1. จำนวนเต็มบวก    ได้แก่  1 , 2 , 3 , 4, 5 , ....                   2.  จำนวนเต็มลบ      ได้แก่  -1.
บทที่ 6 โปรแกรมเชิงเส้น Linear Programming
นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช
อสมการ.
ผศ.ดร.เจษฎา ตัณฑนุช โทร
ความหมายเซต การเขียนเซต ลักษณะของเซต.
การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
อสมการ เสถียร วิเชียรสาร ขอบคุณ.
จำนวนจริง F M B N ขอบคุณ เสถียร วิเชียรสาร.
ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ เป็นเซตของคู่อันดับ
ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ เป็นเซตของคู่อันดับ
ฟังก์ชัน ฟังก์ชันเป็นรูปแบบหนึ่งของความสัมพันธ์ แต่มีกฎเกณฑ์มากกว่านั่นคือ ถ้า f เป็นความสัมพันธ์ หรือเราสามารถเขียนฟังก์ชัน f ในอีกรูปแบบหนึ่งคือ.
ฟังก์ชัน ฟังก์ชันเป็นรูปแบบหนึ่งของความสัมพันธ์ แต่มีกฎเกณฑ์มากกว่า
CALCULUS III ส่วนที่ 2 : สมการเชิงอนุพันธ์ อาจารย์ ดร.เจษฎา ตัณฑนุช.
สมการเชิงอนุพันธ์อย่างง่าย
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานี
การหาปริพันธ์ (Integration)
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อองค์การ
A/Prof.Dr.Supot Nitsuwat
คำศัพท์ที่น่าสนใจใน A5
A.5 Solving Equations การแก้สมการ.
อสมการ (Inequalities)
ทบทวนอสมการกำลัง1. ทบทวนอสมการกำลัง1 การหาเซตคำตอบของอสมการ ตัวอย่าง.
(Applications of Derivatives)
โครงการสอนการถ่ายเทความร้อน
การวิจัยในชั้นเรียนด้านอาชีวศึกษา
การแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
การดำเนินการบนเมทริกซ์
คุณสมบัติการหารลงตัว
การหาตัวหารร่วมมาก โดยใช้รูปแบบบัญญัติ
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
จำนวนเต็มกับการหารลงตัว
ค31211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 1
สัปดาห์ที่ 7 การแปลงลาปลาซ The Laplace Transform.
วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา ค ครูผู้สอน นางสาวสมใจ จันทรงกรด
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล
กิจกรรมที่ 6 จุดประสงค์ การวิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหา
วิกฤตคุณภาพอุดมศึกษาไทย
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ครูชำนาญ ยันต์ทอง โดย ครู ชำนาญ ยันต์ทอง โรงเรียนวัง ไกลกังวล โดย ครู ชำนาญ ยันต์ทอง โรงเรียนวัง ไกลกังวล ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ค คณิตศาสตร์พื้นฐาน.
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
บทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง ฟังก์ชัน นางสาวอรชุมา บุญไกร โรงเรียนสิชลคุณาธาร วิทยา.
แบบทดสอบ ชุดที่ 2 เรื่อง สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ค32213 คณิตศาสตร์สำหรับคอมพิวเตอร์ อ.วีระ คงกระจ่าง
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
Introduction TO Discrete mathematics
นางสุทัศนีย์ พลเตชา ผลงานวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์
Fundamental of Database Systems ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น ธนวัฒน์ แซ่เอียบ โฮมเพจรายวิชา : /db.
บทที่ 2 กำหนดการเชิงเส้น : การแก้ปัญหาด้วยวิธีกราฟ
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
เศษส่วนของพหุนาม การทำให้อยู่ในรูปเศษส่วนอย่างต่ำ
การหาเซตคำตอบของสมการ ค่าสัมบูรณ์
ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ลิมิตและความต่อเนื่องของฟังก์ชัน
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
บทที่ 3 การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คณิตศาสตร์ธุรกิจ 1 205101 วันอังคาร 9:00-12:00 น. กลุ่ม 1 ห้อง B1138 วันอังคาร 9:00-12:00 น. กลุ่ม 1 ห้อง B1138 อ.ดร.บุญช่วย บุญมี กลุ่ม 2 ห้อง B1139 ผศ.ดร.เจษฎา ตัณฑนุช

อ.ดร.บุญช่วย บุญมี โทร 4330 email: boonchauy@sut.ac.th ผศ.ดร.เจษฎา ตัณฑนุช โทร 4641 email: jessada@sut.ac.th http://math.sut.ac.th/~jessada

เนื้อหาก่อนสอบกลางภาค - ทบทวนพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ ระบบจำนวน ค.ร.น ห.ร.ม ลักษณะของจำนวนจริง จำนวนซึ่งเกี่ยวข้องกับจำนวนจริงที่น่า สนใจ สมการตัวแปรเดียว การแก้สมการตัวแปรเดียว ช่วง - อสมการ ค่าสัมบูรณ์ อสมการที่อยู่ในรูปค่าสัมบูรณ์ - ระบบสมการ และการแก้ระบบสมการ - เมทริกซ์ การดำเนินการบนเมทริกซ์ ตัวกำหนด และเมทริกซ์ ผกผัน - เซต เซตย่อย สมาชิกในเซต จำนวนสมาชิกในเซต และการ ดำเนินการบนเซต

เนื้อหาหลังสอบกลางภาค - พหุนาม สมการพหุนาม และการหาผลเฉลยของสมการ - ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน เรขาคณิตวิเคราะห์เบื้องต้น - ฟังก์ชันพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ กราฟของฟังก์ชัน - กำหนดการเชิงเส้น - การประยุกต์ใช้ความรู้ทางคณิตศาสตร์ไปใช้แก้ปัญหาทาง ธุรกิจและการเงิน

วันศุกร์ที่ 28 สิงหาคม 2552 9.00-12.00 น. การบ้าน (10%) สอบย่อย (20%) สอบกลางภาค (30%) วันพุธที่ 15 กรกฎาคม 2552 12.00-14.00 น. สอบปลายภาค (40%) วันศุกร์ที่ 28 สิงหาคม 2552 9.00-12.00 น.

เอกสารประกอบการสอน http://math.sut.ac.th/~jessada สมัย เหล่าวานิชย์ และ พัวพรรณ เหล่าวานิชย์, คู่มือคณิตศาสตร์ ม.1-6, บริษัท ไฮเอ็ดพับบลิชชิ่ง จำกัด, 2535 A. Chiang and K. Wainwright, Fundamental Methods of Mathematical Economics, 4th ed., McGraw Hill, Singapore, 2005 H. Anton, I. Bivens and S. Davis, Calculus, 7th ed., John Willey & Sons, Inc., USA., 2002 K. H. Rosen, Discrete Mathematics and Its Applications, 2nd ed., McGraw-Hill, Singapore, 1991 http://math.sut.ac.th/~jessada

(3-4)-5 = 3-(4-5) = 3-4-5 =

(3-4)5+2 = 3(4-5)-6 = (3-4)-2(5-6) = -10(3-4)-2(5-6) =

จงเรียงลำดับค่าต่อไปนี้จากน้อยไปมาก

หารยาว

จงเขียนเศษส่วนต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปเศษเกิน

GCD or Greatest Common Divisor ห.ร.ม. หรือ หารร่วมมาก GCD or Greatest Common Divisor ห.ร.ม ของจำนวนเต็ม a และ b ซึ่งไม่เป็นศูนย์ พร้อมกัน หมายถึง จำนวนเต็มบวกที่มากที่สุดที่หารทั้ง a และ b ลงตัว

จงหา ห.ร.ม. ของ 252 และ 198

จงทำให้เป็นเศษส่วนอย่างต่ำ

LCM or Least Common Multiplier ค.ร.น. หรือ คูณร่วมน้อย LCM or Least Common Multiplier ค.ร.น. ของจำนวนเต็ม a และ b หมายถึง จำนวนเต็มบวกที่น้อยที่สุดที่ทั้ง a และ b หารลงตัว

ทฤษฎีบท

ตัวอย่างการหา ค.ร.น 64 96

ตัวอย่างการใช้ ค.ร.น

ข้อความที่ให้ต่อไปนี้ถูกต้องหรือไม่ ถ้าไม่ถูกต้องจงแก้ไขให้ถูกต้อง 1.) 2.) 3.)

ข้อความที่ให้ต่อไปนี้ถูกต้องหรือไม่ ถ้าไม่ถูกต้องจงแก้ไขให้ถูกต้อง 1.) 2.) 3.) 4.)