แนะนำการวิเคราะห์และการออกแบบ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Workshop. Workshop 1 • แบ่งกลุ่มนักศึกษาเป็น 4 กลุ่ม ในฐานะที่กลุ่มของท่านเป็นผู้บริหาร ระดับกลาง ได้รับมอบหมายจาก ผู้บริหารระดับสูงให้ทำการพัฒนา ปรับปรุงระบบงานสารสนเทศในความ.
Advertisements

บทที่ ๑ ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการวิเคราะห์ และออกแบบระบบสารสนเทศ (Introduction to Information System Analysis) 22/7/03 บทที่
05/06/54 วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่องความหมายและองค์ประกอบของระบบสื่อสารข้อมูล.
ประเภทของระบบสารสนเทศในองค์กร
การสร้างสื่อด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
หลักการออกแบบของ ADDIE model ADDIE model
หลักสูตรวิทยาศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวิชาการพัฒนา ซอฟต์แวร์ด้านธุรกิจ ทำไมจึงเรียนสาขานี้ – บุคลาการด้านการพัฒนาซอฟต์แวร์ยังเป็นที่ ต้องการในบริษัทที่ปรึกษา.
Feature Driven Development
Seminar in computer Science
การเตรียมเอกสาร สอบหัวข้อโครงงาน
การจัดการศูนย์สารสนเทศ
การจัดการระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
การพัฒนาระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ เพื่อการจัดการ และกรณีศึกษา
การวิเคราะห์ความต้องการด้านระบบ
ระบบสารสนเทศ เพื่อการจัดการ และกรณีศึกษา
ระบบข้อสอบออนไลน์.
ระบบจัดเก็บค่าน้ำประปา
The automated web application testing (AWAT) system
กระบวนวิชา ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (Management Information System)
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (Management Information System :MIS)
คำแนะนำ และแนวทางประกอบอาชีพ หลักฐานและขั้นตอนการสอบสัมภาษณ์
PDCA คืออะไร P D C A.
Surachai Wachirahatthapong
ในอดีตการเข้าถึงแหล่งข้อมูล ข่าวสาร และการใช้น่าจะเป็นเรื่องที่ ยาก หรืออาจจะไม่จำเป็นต้องเข้าถึง เลย เพราะวิถีชีวิตเป็นเรื่องง่าย ๆ และ เป็นประจำ จนถึงยุคที่การทำงานเป็น.
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปริศนา มัชฌิมา
กิจกรรมที่ 2 ลักษณะสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
บทที่ 11 ระบบสารสนเทศ.
การจัดการสารสนเทศและ ระบบสารสนเทศ
โครงสร้างและวัฒนธรรมองค์การ (Organizational Structure and Culture)
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสำนักงาน และการบริหารงานสำนักงาน
การวิจัยดำเนินงาน Operations research
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานในการ พัฒนาระบบ
บุคลากร (Peopleware) บุคลากรทางด้านระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ค่อนข้างมีความจำเป็นที่ต้องมีความรู้หลากหลาย และมีความสนใจเทคโนโลยีสารสนเทศใหม่ๆ เสมอ และคอยติดตามข่าวสารความเป็นไปของเทคโนโลยีทางด้านนี้
การศึกษาความเป็นไปได้ (Problem Definition and Feasibility Study)
การรวบรวมความต้องการ (Requirements Gathering)
การออกแบบฐานข้อมูลและการบริหารธุรกิจ
System Development Lift Cycle
บทที่ 3 Planning.
โครงสร้างขององค์กร (Organization Structure)
บทนำการบริหารโครงสร้างพื้นฐานเทคโนโลยีสารสนเทศ
Chapter 9 การปรับแต่งระบบให้เหมาะสมกับ การใช้งาน.
ปัจจัยของการสร้างนวัตกรรม
ปัจจัยของการสร้างนวัตกรรม
การประยุกต์ใช้คลังความรู้
บุคลากรคอมพิวเตอร์.
บทที่ 6 การเปลี่ยนแปลงเข้าสู่การออกแบบระบบ การประเมินทางเลือกซอฟท์แวร์
การจัดการฐานข้อมูล.
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ และบทบาทของนักวิเคราะห์ระบบ
Information Technology : IT
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบ Introduction to the System
กระบวนการทำงานและบุคลากร
Chapter 1 : Introduction to Database System
การจัดการความรู้ ยุทธศาสตร์ที่ 1 การใช้เทคโนโลยีกลไกในการบริหารจัดการ สำนักอำนวยการ สป. องค์ความรู้การจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์เผยแพร่ภาพลักษณ์และแนะนำองค์กร.
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
การวิเคราะห์และออกแบบระบบ System Analysis and Design
บทที่ 11 ระบบสารสนเทศ.
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
บทที่ 2 การจัดองค์กรขาย
ความหมายของ KM การจัดการความรู้ หมายถึง กระบวนการอย่าง มีระบบเกี่ยวกับการประมวลข้อมูล สารสนเทศ ความคิด การกระทำ ตลอดจนประสบการณ์ของ บุคคลเพื่อสร้างเป็นความรู้หรือนวัตกรรม.
ความหมายและบทบาทของ เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 4 กลยุทธ์การค้าปลีก
แผนภูมิองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศมีลักษณะอย่างไร
7.Discussion การอภิปราย นายวัชรกร เดชะบุญ รหัสนิสิต
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE Model
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
1. ความหมายขององค์กรธุรกิจ องค์กรธุรกิจ หมายถึง กลุ่มคนซึ่งร่วมกันทำกิจกรรมทางธุรกิจเพื่อหวัง ผลตอบแทนเป็นกำไรและการลงทุน 2. ระบบสารสนเทศในเชิงธุรกิจ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนะนำการวิเคราะห์และการออกแบบ (Introduction to Systems Analysis and Design ) บทที่ 1 บทบาทของนักวิเคราะห์ระบบงาน นายพส สมบูรณ์ 493020123-7 คณะวิทยาศาสตร์ สาขาสถิติ potpot_koong@hotmail.com

วัตถุประสงค์ บทบาทของนักพัฒนาระบบที่ต้องดำเนินการทั่งการวิเคราะห์และออกแบบระบบ คุณสมบัติของนักพัฒนาระบบ ใครบ้างคือผู้ใช้ระบบ

ถ้ากล่าวถึงการพัฒนาระบบงาน ในทางธุรกิจจะหมายถึงกระบวนการตรวจสอบความเหมาะสมทางธุรกิจ เพื่อปรับปรุงวิธีการปฏิบัติงานให้ดีกว่าเดิม

นักวิเคราะห์และออกแบบระบบ(SAD) คณะกรรมการพัฒนาระบบขององค์กร ผู้จัดการ เจ้าของระบบ ผู้ใช้ระบบ ผู้เชี่ยวชาญด้านเทคนิค ผู้เขียนโปรแกรม ทีมงานด้านเทคนิค วิศวกรรมระบบ ผู้ขาย software นักวิเคราะห์และออกแบบระบบ(SAD) คณะกรรมการพัฒนาระบบขององค์กร

บทบาทของนักพัฒนาระบบ นักพัฒนาระบบจะต้องเข้าใจทั้งระบบธุรกิจและระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ สิ่งเหล่านี้จะเป็นจุดเปลี่ยนของธุรกิจโดยอาจจะช่วยให้มีการบริการดีขึ้น ได้ตลาดใหม่มากขึ้น

คุณสมบัติของนักพัฒนาระบบ นักพัฒนาระบบไม่จำเป็นจะต้องมาจากนักโปรแกรมคอมพิวเตอร์เสมอไป แต่ควรจะเป็นบุคคลที่มีความรู้ในเรื่องซอฟต์แวร์ ฮาร์ดแวร์ วิทยาการคอมพิวเตอร์ทั่วไปทุกสาขา นอกจากนั้นยังต้องมีความรู้เกี่ยวกับธุรกิจ และอุตสาหกรรมที่จะนำคอมพิวเตอร์เข้าไปใช้ และควรจะมีความรู้ด้านการบริหารจัดการด้วยซึ้งจะทำให้สามารถแยกแยะปัญหาทางธุรกิจและระบุความต้องการของระบบได้อย่างเหมาะสม

ผู้ใช้ระบบคือใคร ผู้ใช้ระบบอาจจะเป็นผู้บริหาร หรือพนักงานในองค์กร โดยผู้ใช้ระบบอาจจะสัมผัสกับระบบสารสนเทศโดยตรงหรือโดยอ้อม แต่ระดับของการใช้ระบบนั้น จะขึ้นกับประเภทของผู้ใช้

Internal systems users หมายถึง ผู้ที่ใช้ระบบภายในองค์กรของตนเอง ประกอบด้วย Clerical and service workers Technical and professional staff or knowledge workers Supervisors และ team leaders Executive managers or top managers

External systems users หมายถึง ผู้ที่ใช้ระบบภายนอกองค์กรของตนเอง ประกอบด้วย Customers Suppliers Partners Employees