หน่วยที่ 1 ระบบคอมพิวเตอร์ กาญจนา ทองบุญนาค สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ Hardware Software People ware Data Procedure กาญจนา ทองบุญนาค สาขาวิชาคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ฮาร์ดแวร์ (Hardware) กาญจนา ทองบุญนาค สาขาวิชาคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ กาญจนา ทองบุญนาค สาขาวิชาคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ (Software) ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) ระบบปฏิบัติการ (Operating System) ซอฟต์แวร์อรรถประโยชน์ (Utilities) ตัวแปลภาษา (Language Translators ) Assembler Interpreter Compiler กาญจนา ทองบุญนาค สาขาวิชาคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ กาญจนา ทองบุญนาค สาขาวิชาคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software) ซอฟต์แวร์สำหรับงานเฉพาะด้าน แต่ละโปรแกรมก็มักจะมีเงื่อนไข หรือแบบฟอร์มแตกต่างกันออกไปตามความต้องการ หรือกฏเกณฑ์ของแต่ละหน่วยงาน ซึ่งสามารถดัดแปลงแก้ไขเพิ่มเติม (Modifications) ในบางส่วนของโปรแกรมได้ เพื่อให้ตรงกับความต้องการของผู้ใช้ ซอฟต์แวร์สำหรับงานทั่วไป โปรแกรมประยุกต์ที่มีผู้จัดทำไว้ เพื่อใช้ในการทำงานประเภทต่าง ๆ ทั่วไป โดยผู้ใช้คนอื่น ๆ สามารถนำโปรแกรมนี้ไปประยุกต์ใช้กับข้อมูลของตนได้ แต่จะไม่สามารถทำการดัดแปลง หรือแก้ไขโปรแกรมได้ กาญจนา ทองบุญนาค สาขาวิชาคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ความสัมพันธ์ภายในระหว่างฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ระบบ ซอฟต์แวร์ประยุกต์ กาญจนา ทองบุญนาค สาขาวิชาคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ บุคคลากร (Peopleware) เจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ (Operator) บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับระบบ (System) ผู้จัดการศูนย์ประมวลผลคอมพิวเตอร์ (Electronic Data Processing Manager) ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ (Computer user) ข้อมูล/สารสนเทศ (Data/Information) กระบวนการทำงาน (Documentation/Procedure) กาญจนา ทองบุญนาค สาขาวิชาคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม วิเคราะห์ปัญหา Output, Input, Process การเขียนขั้นตอนวิธี (Algorithm) การตรวจสอบความถูกต้อง ใช้ตารางการตรวจสอบ การเขียนภาษาคอมพิวเตอร์และทดสอบโปรแกรม Logical error Syntax error การจัดทำเอกสารและการบำรุงรักษาโปรแกรม กาญจนา ทองบุญนาค สาขาวิชาคอมพิวเตอร์
Algorithm กลุ่มคำสั่งที่มีขั้นตอนการทำงานชัดเจน มีความชัดเจน ไม่กำกวม ให้ผลลัพธ์ที่ถูกต้องในทุกกรณี มีการสิ้นสุด สามารถมีขั้นตอนที่แตกต่างกันได้ในการแก้ปัญหาใดปัญหาหนึ่ง กาญจนา ทองบุญนาค สาขาวิชาคอมพิวเตอร์
Pseudocode ไม่มีกฎตายตัว คล้ายภาษาระดับสูงที่ใช้กับคอมพิวเตอร์ ประโยคคำสั่งเขียนเป็นภาษาอังกฤษอย่างง่าย ประโยคคำสั่งหนึ่ง ๆ จะเขียนต่อหนึ่งบรรทัด คำหลัก (key word) และการเขียนย่อหน้าใช้เพื่อแยกโครงสร้างควบคุม เขียนจากบนลงล่างโดยมีทางเข้าออกทางเดียว กาญจนา ทองบุญนาค สาขาวิชาคอมพิวเตอร์
การปฏิบัติการของคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์สามารถรับข้อมูลได้ Get, Read ผลิตข้อมูลออกได้ Write, Put, Display สามารถปฏิบัติการทางคณิตศาสตร์ได้ +, -, *, /, ( ) กำหนดค่าให้กับตัวเก็บข้อมูลได้ Set, Store, = กาญจนา ทองบุญนาค สาขาวิชาคอมพิวเตอร์
การปฏิบัติการของคอมพิวเตอร์ สามารถเปรียบเทียบและทำการเลือกได้ If … then … else สามารถปฏิบัติการวนซ้ำได้ Do … While กาญจนา ทองบุญนาค สาขาวิชาคอมพิวเตอร์
ทฤษฎีโครงสร้าง แบบเรียงลำดับ (Sequence) การดำเนินการจะกระทำไปตามลำดับ แบบทางเลือก (Selection) แสดงถึงเงื่อนไขและทางเลือกระหว่างการกระทำ 2 อย่าง ขึ้นอยู่กับผลลัพธ์ในการตรวจสอบเงื่อนไขว่าเป็นจริงหรือเท็จ แบบวนซ้ำ (Repetition) กลุ่มคำสั่งที่ดำเนินการซ้ำ ๆ กัน ตราบเท่าที่เงื่อนไขเป็นจริง กาญจนา ทองบุญนาค สาขาวิชาคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างการวิเคราะห์ปัญหาและการเขียน Algorithm การหาค่าของเลข 2n (2x2x2x … x2) กำหนดให้ result = 1 รับค่าตัวเลขเก็บในตัวแปร n Result = result x 2 n แสดงค่า Result กำหนดให้ result = 1 กำหนดให้ i = 1 รับค่าตัวเลขเก็บในตัวแปร n While i < n Result = result x 2 i = i + 1 End แสดงค่า Result กาญจนา ทองบุญนาค สาขาวิชาคอมพิวเตอร์