ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Datadictionary Prakan Sringam.
Advertisements

ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
หลักการบันทึกข้อความ
กาจัดการข้อมูลพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
เทคโนโลยีฐานข้อมูลสำนักงาน
วิชาหัวข้อเรื่องที่ทันสมัยทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ 6 มกราคม 2555
โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จัดการฐานข้อมูลด้วย Microsoft Access 2007
E-R Model บรรยายโดย สุรางคนา ธรรมลิขิต.
โครงงานเรื่อง การบริหารสินค้าคงคลัง
Data Warehouse (คลังข้อมูล)
ตัวอย่าง การปรับปรุงข้อสอบ วิชา LB105: Study Skills ภาคที่ 1 / 2545 ( ก่อนการปรับปรุงเป็นข้อ 78 หลังการปรับปรุงเป็นข้อ 20 )
แผนการสอน วิชา Database Design and Development
Lecture 10 : Database Documentation
Graduate School Khon Kaen University
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
ระบบสารสนเทศประมวณผลรายการธุรกรรม
บทที่ 2 รูปแบบของฐานข้อมูล.
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโปรแกรม Microsoft Office Access 2003
Normalization.
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
บทที่ 8 การออกแบบข้อมูล (Data Design) โครงสร้างข้อมูล (Data Structure)
การวางแผนและการดำเนินงาน
Use Case Diagram.
การออกแบบแบบจำลองข้อมูล
ทบทวน การออกแบบฐานข้อมูล
โปรแกรม Microsoft Access
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
การจัดกระทำข้อมูล.
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
ประวัติความเป็นมาของฐานข้อมูลและยกตัวอย่างโปรแกรมในการจัดการฐานข้อมูล
การออกแบบฐานข้อมูลและการบริหารธุรกิจ
หลักการวิเคราะห์และออกแบบระบบฐานข้อมูล
REQUIREMENT SPECIFICATION DOCUMENT
เรื่อง คอมพิวเตอร์กับการประมวลผลข้อมูล
บทที่ 3 การวิเคราะห์ Analysis.
Data Modeling Chapter 6.
บทนำเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
การวิเคราะห์และออกแบบระบบฐานข้อมูล
การวิเคราะห์และออกแบบระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโปรแกรม Microsoft Access
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database)
เรื่องหลักการแก้ปัญหา
(Transaction Processing Systems)
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ E-Commerce
1. การศึกษาและการวิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้
โปรแกรม Microsoft Access
ตัวอย่าง ระบบคลังหนังสือ (Book Stock System)
หลักการแก้ปัญหา
ระบบการเรียกเก็บหนี้
ภาระงาน 3.1 การวิเคราะห์และออกแบบฐานข้อมูล
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
Normalization – Special Problem (DB) Choopan Rattanapoka
การประยุกต์ใช้ฐานข้อมูล
การออกแบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
โมเดลเชิงสัมพันธ์ The relational model.
E-R to Relational Mapping Algorithm
Chapter 1 : Introduction to Database System
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
การสร้างสื่อ e-Learning
7.Discussion การอภิปราย นายวัชรกร เดชะบุญ รหัสนิสิต
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE Model
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
หลักการออกแบบของ ADDIE model
ตัวอย่าง การเขียนโครงการ
การเตรียมข้อมูล (Data preparation)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับฐานข้อมูล

หลักการออกแบบฐานข้อมูล หลักการออกแบบฐานข้อมูลนั้นจะต้องรู้ว่าข้อมูลที่จะนำมาเก็บฐานข้อมูลระกอบไปด้วยอะไรบ้าง และมีการจัดเก็บในรูปแบบใด แล้วจึงค่อยเริ่มต้นสร้างฐานข้อมูลซึ่งขั้นตอนในการออกแบบฐานข้อมูลนั้นมีอยู่ด้วยกัน 11 ขั้นตอน ดังนี้

หลักการออกแบบฐานข้อมูล กำหนดวัตถุประสงค์ในการสร้างระบบฐานข้อมูล ว่าต้องการใช้จัดเก็บข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องอะไร กำหนดวัตถุประสงค์ในการสร้างฐานข้อมูลว่าต้องการใช้ทำเพื่ออะไรและต้องการอะไรบ้างจากระบบนี้ เช่น รายงานสรุปต่าง ๆ ซึ่งจะต้องระบุให้ชัดเจน

หลักการออกแบบฐานข้อมูล สอบถามความต้องการของผู้ใช้ว่าจะต้องป้อนข้อมูลใดบ้างเข้าสู่ระบบ และผลลัพธ์ที่ได้ออกมาจากระบบว่าต้องการอะไรบ้าง สิ่งใดเป็นสิ่งที่ไม่จำเป็น และสิ่งใดสามารถช่วยให้ระบบมีประสิทธิภาพการทำงานสูงยิ่งขึ้น วิเคราะห์และรวบรวมข้อมูลที่จำเป็นทั้งหมด

หลักการออกแบบฐานข้อมูล จัดกลุ่มข้อมูลที่ต้องการเก็บในระบบฐานข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบของตาราง (Table) โดยพิจารณาจากความสัมพันธ์ว่าเป็นเรื่องเดียวกันหรือไม่ วิเคราะห์ข้อมูลแต่ละตาราง เพื่อกำหนดเขตข้อมูลหรือฟิลด์ข้อมูลให้ครบถ้วน

หลักการออกแบบฐานข้อมูล พิจารณาเขตข้อมูลหลักหรือฟิลด์หลัก (Primary Key) ของแต่ละตาราง วิเคราะห์โครงสร้างข้อมูลที่ได้ตามหลักการ Normalization เพื่อให้ได้ตารางข้อมูลที่มีโครงสร้างไม่ซับซ้อนและถูกต้อง

หลักการออกแบบฐานข้อมูล กำหนดชนิดข้อมูล (Data Type) ที่ต้องการจัดเก็บว่าอยู่ในรูปแบบใด กำหนดความสัมพันธ์ของข้อมูลในฐานข้อมูล (Relationship) ออกแบบหน้าจอการใช้งาน

กฎการ Normalization กฎการ Normalization เป็นกฎที่ใช้ในการออกแบบตาราง เพื่อลดความซ้ำซ้อน แก้ไขตารางได้ง่าย และถ้าเปลี่ยนแปลงข้อมูล จะมีผลกระทบต่อข้อมูลอื่นน้อยที่สุด โดยทั่วไปแล้วเราใช้กฎ Normalization เพียง 3 ข้อก็เพียงพอในการออกแบบตารางโดยทั่วไปแล้วจากรายละเอียดทั้งหมด 4 ข้อดังนี้

กฎการ Normalization กฎข้อที่ 1 (First Normal Form) กล่าวว่า จะต้องไม่มีเซลล์ใดในตารางที่มีค่าเกิน 1 ค่า ดังนั้นเราสามารถทำให้ตารางผ่านกฎข้อที่ 1 ได้ด้วยการแยกเซลล์ที่มีค่าเกินหนึ่งออกเป็นเรคอร์ดใหม่ ตัวอย่าง

ตัวอย่างก่อนการ Normalization รหัสนักศึกษา ชื่อ นามสกุล รหัสวิชาที่ลงทะเบียน 001 สมชาย สมใจนึก 204-101 204-204 204-205 002 ธีรชาย บุญมาศ 204-102

ตัวอย่างหลังการ Normalization รหัสนักศึกษา ชื่อ นามสกุล รหัสวิชาที่ลงทะเบียน 001 สมชาย สมใจนึก 204-101 204-204 204-205 002 ธีรชาย บุญมาศ 204-102

กฎการ Normalization กฎข้อที่ 2 (Second Normal Form) กล่าวว่าตารางที่ผ่านกฎข้อที่ 2 จะต้องไม่มีแอตทริบิวต์ (Attribute) หรือฟิลด์ที่ไม่ใช่คีย์หลักไปผสมหรือปนอยู่กับส่วนใดส่วนหนึ่งของคีย์หลัก จะต้องมีเฉพาะคีย์หลักเต็มๆ เท่านั้น ซึ่งจะผ่านกฎข้อนี้ จะต้องแยกฟิลด์เฉพาะออกมาสร้างตารางใหม่ แล้วใช้ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม ตัวอย่าง

รหัสการสั่งซื้อ รหัสลูกค้า วันที่สั่งสินค้า วันที่ส่งสินค้า รหัสสินค้า จำนวนสินค้าที่สั่งซื้อ ส่วนลด (%) 102258 015 21/10/94 28/10/94 0005 8 25.00% 0100 0.00% 0125 15 10265 181 27/10/44 31 0010 10278 213 24/10/94 3/11/94 0007 16 0008 0023 4

รหัสการสั่งซื้อ รหัสลูกค้า วันที่สั่งสินค้า วันที่ส่งสินค้า 102258 015 21/10/94 28/10/94 10265 181 27/10/94 10278 213 24/10/94 3/11/94 รหัสการสั่งซื้อ รหัสสินค้า จำนวนสินค้าที่สั่งซื้อ ส่วนลด (%) 102258 0005 8 25.00% 0100 0.00% 0125 15 10265 31 0010 10278 0007 16 0008 0023 4

กฎการ Normalization กฎข้อที่ 3 (Third Normal Form) กล่าวว่า ตารางที่ผ่านกฎข้อที่ 3 จะต้องไม่มีแอตทริบิวต์ใดที่เกิดขึ้นกับแอตทริบิวต์อื่นที่ไม่ใช่คีย์หลัก การแก้ไขให้ผ่านกฎข้อนี้ ทำได้โดยการแยกตารางออกมาสร้างตารางใหม่ ตัวอย่าง

รหัสชนิดสินค้า ชื่อชนิดสินค้า รหัสสินค้า ชื่อสินค้า ราคาต่อหน่วย จำนวนในคลัง 01 หนังสือ 005 คู่มือสำหรับผู้นำในยุค 90 219.63 409 0100 พูดอย่างมีวาทะ 155 02 CD-ROM 0125 SALES MANAGER FACTOMATIC 700.00 169 0051 SECRETS OF STARGATE 1842.99 197 0010 US ATLAS 540.19 159 03 Hardware 0007 VIDEOCONVERENCING CARD-FLY VIDEO 369.16 205 0008 ชุดกล้องถ่ายวีดีโอ Panasonic Mode VHS 260.00 177 04 Multimedia 0023 JAPANESE 1, LIYC 278.00 326 0055 JAPANESE 2, LIYC

รหัสชนิดสินค้า ชื่อชนิดสินค้า 01 หนังสือ 02 CD-Rom 03 Hardware 04 Multimedia รหัสชนิดสินค้า รหัสสินค้า ชื่อสินค้า ราคาต่อหน่วย จำนวนในคลัง 01 0005 คู่มือสำหรับผู้นำในยุค 90 219.63 409 0100 พูดอย่างมีวาทะ 155 02 0125 SALES MANAGER FACTOMATIC 700.00 169 0051 SECRETS OF STARGATE 1842.99 197 0010 US ATLAS 540.19 159 03 0007 VIDEOCONVERENCING CARD-FLY VIDEO 369.16 205 0008 ชุดกล้องถ่ายวีดีโอ Panasonic Mode VHS 260.00 177 04 0023 JAPANESE 1, LIYC 278.00 326 0025 JAPANESE 2, LIYC

กฎการ Normalization กฎข้อที่ 4 (Fourth Normal Form) กล่าวว่า ตารางที่ผ่านกฎข้อที่ 4 จะต้องไม่มีการขึ้นต่อกันแบบเชิงกลุ่ม (Multivalued Dependency) ซึ่งเป็นความสัมพันธ์แบบ (Many – to - Many) ภายในตารางเดียวกัน

กฎการ Normalization สรุปตารางที่ออกแบบได้ทั้งหมด