รูปแบบการสอนโมเดลซิปปา (CIPPA Model)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การจัดการเรียนรู้รายวิชางานบัญชีบริการ
Advertisements

โครงการวิจัยและพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยการจัดการความรู้
แนวคิดการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
สรุปภาพรวมของหน่อยการเรียนรู้
วิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย นางรัชฎา ช่างเหลา ตำแหน่งพนักงานราชการ
มหาวิทยาลัยนครพนม.
การศึกษาแนวคิด ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง (LITERATURE)
การจัดการเรียนรู้โดยใช้ “เกม” (Game)
แนวคิดในการวิเคราะห์ผู้เรียนที่นิยม 5 แนวคิด
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
ความดีเด่นของสถานศึกษา
การพัฒนา หลักสูตร ชุมชน. สามารถจัดทำ หลักสูตร ชุมชนได้
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
สารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ GHUM 1103
ผลลัพธ์การเรียนรู้:ผลการจัดการความรู้
ผลการทบทวนวรรณกรรมที่ เกี่ยวข้องกับงานวิจัย
การเขียนแผนแบบUBD.
ศ.ดร.สุมาลี สังข์ศรี มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาระดับ ปวส
การจัดการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ
การประเมินแผนการสอน สุธาสินี ศรีวิชัย
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นายวิชชุกร บัวคำซาว วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร จังหวัดเชียงใหม่
สัมมนาการพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอนสำหรับท้องถิ่น
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
บทบาทสมมติ (Role Playing)
การเรียนรู้ที่ต้องการพัฒนา
ภาคเรียนที่1 ปีการศึกษา 2556 นางสาวกรรณิการ์ นัยผ่องศรี
ABAT วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
แนวทางการสอนเพื่อพัฒนาทักษะเด็กตามรูปแบบ การสอนแบบโครงงาน/โครงการ
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ผู้วิจัย นางสาวพิลาวรรณ พิริยะโภคัย
ผลของการเรียนแบบร่วมมือที่มีต่อ ผลสัมฤทธิ์และความสนใจในการเรียน วิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียน ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 โรงเรียนสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี
การเรียนวิทยาศาสตร์ของนักเรียน ส่วน หนึ่งมาจากนักเรียนมีพื้นฐานความรู้ ที่ แตกต่างกัน มีความสนใจและความสามารถ ในการรับรู้ แตกต่างกัน นักเรียนบางส่วน ขาดความตระหนักไม่เห็นความสำคัญของ.
ชื่อเรื่อง การแก้ปัญหานักศึกษาสอบไม่ผ่านเกณฑ์ในรายวิชา โครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึ่มของนักศึกษาปวส. 1/2 วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจสงขลา โดยใช้วิธีการสอนแบบร่วมมือ.
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ชื่อผลงานวิจัย กิจกรรมการเรียนการสอนวิชาการใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา เรื่อง การตกแต่งเอกสาร โดยวิธีการให้นักเรียนสร้างผลงานจากสถานการณ์จำลองที่กำหนดให้
นายทศพิธ แป้นดวงเนตร วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนวิชาเครื่องกลไฟฟ้า 1 ของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงชั้น ปีที่ 1 ที่ได้รับการจัดการเรียนการ สอน โดยใช้กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์
วิธีสอนแบบสืบสวนสอบสวน
การสอนแบบสืบสวนสอบสวน
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาหม้อแปลงไฟฟ้า เรื่องการสร้างหม้อแปลงไฟฟ้าขนาดเล็ก ด้วยกิจกรรมแบบเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ.
ผลงานวิจัย โดย อ. หัสยา วงค์วัน
อาจารย์บำเรอ ศรีสุขใส
วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
ผู้วิจัย อาจารย์เกษร วุฒิสินธ์
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)
วิจัย เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้เรื่อง การวิเคราะห์พฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภคในปัจจุบันโดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
ผลงานวิจัยเรื่อง “การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาธุรกิจทั่วไป เรื่องรูปแบบขององค์กรธุรกิจของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 แผนกบริหารธุรกิจโดยใช้ชุดการสอนแบบศูนย์การเรียน.
ผลสัมฤทธิ์ก่อนและหลังการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์จำลอง วิชาการขาย 2 เรื่องกระบวนการขายของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
ผู้วิจัย อาจารย์ธนพร ผ่อนวัฒนา
การจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักศึกษา ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 วิชา วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ( )
โดย นายสุรชัย ไตรบรรณ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาระบบจัดการพลังงานใน อุตสาหกรรม ระดับชั้น ปวส.2/1 หมวดวิชาช่าง ยนต์ โดยใช้กิจกรรมเพื่อนช่วยเพื่อน โดย นายสุรชัย ไตรบรรณ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ (วทบ.)
การศึกษาผลการสอนด้วยวิธีการแบบ บูรณาการ ระหว่างการสอนแบบ CIPPA MODELกับการสอนแบบ MAIP รายวิชาห้องสมุดกับการรู้สารสนเทศ.
โดย นางวัลภา เก่งอักษร
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การป้อนสมการและสูตรทางคณิตศาสตร์ ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) ในรายวิชา การใช้โปรแกรมประมวลผลคำ รหัสวิชา
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชา การวิเคราะห์ ออกแบบระบบ ปวส.2/2และปวส.2/2 พิเศษสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจสงขลา.
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชามนุษยสัมพันธ์โดยใช้เทคนิคการทำงานเป็นทีม ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 ผู้วิจัย นางบุษกร.
นางสาวสายพิน มโนศักดิ์เสรี โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ผู้วิจัย อาจารย์สมเกียรติ ขำสำราญ
วิธีการสอนโดยใช้เกม (Game)
ผู้วิจัย นางกรุณา อุประดิษฐ์
วิธีสอนแบบแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
โครงงานคืออะไร หลักการของการเรียนรู้ของ โครงงาน จุดมุ่งหมายของการจัดการเรียนรู้ ด้วยโครงงาน โครงงานกับการเรียนรู้แบบต่างๆ ลักษณะเด่นของการเรียนรู้ด้วย.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รูปแบบการสอนโมเดลซิปปา (CIPPA Model)

ความหมาย รูปแบบการสอนการสอนโมเดลซิปปา เป็นการจัดการเรียนการสอนที่ให้ผู้เรียนเป็นผู้สร้างความรู้ด้วยตนเอง ( construction of knowledge ) ซึ่งนอกจากผู้เรียนจะต้องเรียนรู้ด้วยตนเองและพึ่งตนเองแล้วยังพึ่งการมีปฏิสัมพันธ์ ( interaction) กับเพื่อนๆ บุคคลอื่นๆ และสิ่งแวดล้อมรอบตัวรวมทั้งอาศัยทักษะกระบวนการ ( process skills) ต่างๆ จำนวนมากเป็นเครื่องมือในการสร้างความรู้ โดยให้ผู้เรียนมีความพร้อมในการรับรู้และเรียนรู้อย่างตื่นตัว

ผู้เรียนได้มีการเคลื่อนไหวทางกาย ( physical participation) อย่างเหมาะสม และจะทำให้ผู้เรียนเกิดการเรียนได้ดี เข้าใจลึกซึ้งและอยู่คงทนมากขึ้น หากผู้เรียนมีโอกาสนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ (application) ในสถานการณ์ที่หลากหลาย (ทิศนา แขมมณี 2545:280)

ทฤษฏี/แนวคิด 3. การให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมทางสังคม ทิศนา แขมมณี (2542) ได้เสนอแนวคิดที่ใช้เป็นแนวทางในการออกแบบกิจกรรมของโมเดลซิปปา ดังนี้ 1.การให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมทางด้านร่างกาย 2.การให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมทางสติปัญญา 3. การให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมทางสังคม 4. การให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมทางอารมณ์

หลักการของรูปแบบการสอนโมเดลซิปปา หลักการของรูปแบบโมเดลซิปปา สรุปได้ดังนี้ (ทิศนา แขมมณี,2542) C มาจากคำว่า Construct I มาจากคำว่า Interaction P มาจากคำว่า Physical participation P มาจากคำว่า Process learning A มาจากคำว่า Application

แนวทางการจัดการเรียนรู้ กระบวนการเรียนการสอนของโมเดลซิปปา ประกอบด้วยขั้นตอนการดำเนินการ 7 ขั้นตอนดังนี้ (ทิศนา แขมมณี, 2545: 281-282) ขั้นตอนที่ 1 ขั้นการแสวงหาความรู้เดิม ขั้นตอนที่ 2 ขั้นตอนการแสวงหาความรู้ใหม่ ขั้นที่ 3 ขั้นการศึกษาทำความเข้าใจ ความรู้ใหม่ และเชื่อมโยงความรู้ใหม่กับความรู้เดิม

ขั้นที่ 4 ขั้นการแลกเปลี่ยนความรู้ความเข้าใจกับกลุ่ม ขั้นที่ 5 ขั้นการสรุปและจัดระเบียบความรู้ ขั้นที่ 6 ขั้นการแสดงผลงาน ขั้นที่ 7 ขั้นการประยุกต์ใช้ความรู้

ข้อค้นพบจากการวิจัย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน อดิศร ศิริ (2543) จากการจัดการเรียนรู้การจัดการเรียนรู้แบบโมเดลซิปปา มีข้อค้นพบจากการวิจัยดังนี้ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน อดิศร ศิริ (2543) ได้ทำการวิจัยเรื่องการพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กาลางโดยใช้โมเดลซิปปา สำหรับวิชาชีววิทยาในระดับมัธยมศึกษาปีที่ 5 พบว่า กิจกรรมการเรียนการสอนที่ได้พัฒนาขั้นดังกล่าวทำให้นักเรียนมีความเข้าใจในเนื้อหาวิชาที่เรียน การมีส่วนร่วมในการเรียนทำให้นักเรียนมีความสนใจ สนุกสนานและนักเรียนได้พัฒนาทักษะกระบวนการในการเรียนรู้ นอกจากนั้นแล้วนักเรียนได้นำความรู้เดิมมาผสมผสานกับความรู้ใหม่เกิดการสร้างองค์ความรู้ด้วยตัวของนักเรียนเอง

ความสนใจต่อการเรียน ดอกคูณ วงศ์วรรณวัฒนา (2544) ความสนใจต่อการเรียน ดอกคูณ วงศ์วรรณวัฒนา (2544) ได้ทำการวิจัยเรื่องการพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง โดยใช้รูปแบบซิปปาในวิชาฟิสิกส์ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 พบว่านักเรียนทุกคนให้ความสนใจต่อการเรียนมากขึ้น มีความสนุกสนานและให้ความร่วมมือในการเรียนและนักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้นกว่าเกณฑ์ที่กำหนด ความสุขในการเรียน วารยาณีย์ เพชรมณี (2546) วิจัยพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอนวิชาชีววิทยาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้รูปแบบซิปปา พบว่า การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนวิชาชีววิทยาโดยใช้รูปแบบซิปปาทำให้นักเรียนมีความเข้าใจในเนื้อหาที่เรียนได้ง่ายขึ้น

นักเรียนรู้จักบทบาทหน้าที่ของตนเองมีความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายกล้าแสดงออก สามารถอภิปรายแลกเปลี่ยนความรู้ความเข้าใจกับเพื่อนในชั้นเรียนในขณะทำกิจกรรมต่างๆ ตลอดจนสามารถสร้างองค์ความรู้ได้ด้วยตนเองและสามารถนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ เมื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนพบว่านักเรียนร้อยละ 88.37 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาชีววิทยาผ่านเกณฑ์มาตรฐานที่โรงเรียนกำหนดไว้คือ ร้อยละ 60 ของ คะแนนเต็ม

จบการนำเสนอ