สื่อการสอน ที่พัฒนาคุณภาพ การเรียนรู้ภาษาไทย
สื่อการเรียนรู้ที่ดี เป็นแบบไหน สื่อเด็กสร้าง ๑ ร้องเล่นรำ ๖ ตัวอย่างจริง ๒ นำวาดภาพ ๗ เก่งกาจด้วยนิทาน ๘ สิ่งจำลอง ๓ ชำนาญฝึกฝน ๙ จับต้องได้ ๔ ดลรักภาษาไทย ๑๐ ใช้ร้อยกรอง ๕
๑. สื่อเด็กสร้าง
๒. ตัวอย่างจริง
๓. สิ่งจำลอง
๕. ใช้ร้อยกรอง
แบบเรียน ก ไก่ ฉบับยอดนิยม แบบเรียน ก ไก่ ฉบับยอดนิยม ก เอ๋ย ก ไก่ ข ไข่ ในเล้า ฃ ขวด ของเรา ค ควาย เข้านา ฅ คน ขึงขัง ฆ ระฆัง ข้างฝา ง งู ใจกล้า จ จาน ใช้ดี ฉ ฉิ่ง ตีดัง ช ช้าง วิ่งหนี ซ โซ่ ล่ามที ฌ กระเฌอ คู่กัน
คำสัมผัส คำสัมผัส คือ คำที่มีเสียงคล้องจองกัน มีลักษณะดังนี้ ๑. ใช้สระเดียวกัน เช่น ใจ สัมผัสกับ ใส, เสีย สัมผัสกับ เจีย ๒.หากเป็นคำที่มีตัวสะกดต้องเป็นตัวสะกดในมาตราเดียวกัน เช่น กาล สัมผัสกับ ชาญ
๖. ร้อง เล่น รำ
๗. นำวาดภาพ
๘. เก่งกาจด้วยนิทาน
๙. ชำนาญฝึกฝน
จากใจจินต์สารสลักเป็นอักษร จารึกเป็นเรื่องราวหรือกล่าวกลอน ๑๐. ดลรักภาษาไทย ภาษาคือสื่อกลางสร้างศาสตร์ศิลป์ ฐะปะนีย์ นาครทรรพ จากใจจินต์สารสลักเป็นอักษร จารึกเป็นเรื่องราวหรือกล่าวกลอน เกิดสุนทรวรรณศิลป์ยั่วยินดี
เป็นร้อยกรองไพเราะเสนาะโสต ใครยินยลปราโมทย์เกษมศรี เป็นกวีนิพนธ์ดลเปรมปรีดิ์ บทกวีรจนาค่าควรเมือง
เป็นนิทานกาพย์กลอนสอนอ่านเขียน เด็กเล่าเรียนเชิดชูให้ฟูเฟื่อง สร้างบทเรียนพื้นบ้านสารประเทือง เล่นยักเยื้องปะคารมคมวจี
สร้างสำนวนภาษิตประดิษฐ์ถ้อย ปัญญาไทยเลิศลอยสมศักดิ์ศรี สร้างคำสอนน้อมนำให้ทำดี เป็นเทียนส่องทางชีวีถูกครรลอง
หลักการจัดทำ หนังสือเรียนภาษาไทย ■ การผลิตหนังสือเรียนภาษาไทย ■ แนวคิดการจัดทำหนังสือเรียน ■ หนังสือเรียน/แบบฝึกหัดภาษาไทยที่ดี
การผลิตสื่อหนังสือเรียนภาษาไทย การจัดทำต้นฉบับ แต่งตั้งคณะกรรมการ วิเคราะห์หลักสูตร นโยบายการศึกษาชาติ นโยบายกระทรวงศึกษาธิการ จิตวิทยา คุณธรรมจริยธรรม สภาพสังคมและวัฒนธรรม ฯลฯ กำหนดกรอบโครงสร้างหนังสือ บรรณาธิการ ปรับแก้ไข เรียบเรียงต้นฉบับ ประสานการพิมพ์ และจัดพิมพ์
คุณสมบัติของคณะกรรมการจัดทำหนังสือเรียน ๑. มีความรู้ความเข้าใจและเชี่ยวชาญ ด้านภาษาไทย ๒. มีประสบการณ์การสอนภาษาไทย ๓. มีความรู้ด้านหลักสูตร การวัด และประเมินผล ๔. มีความรู้ด้านการจัดกิจกรรม และจัดทำสื่อการเรียนรู้
ผู้บรรณาธิการต้นฉบับ เข้าใจภาพรวมเนื้อหาของหนังสือ มีความรู้ความสามารถในการใช้ภาษาไทยเป็นอย่างดี มีความรู้เรื่องการออกแบบรูปเล่ม มีความคิดสร้างสรรค์ มีมนุษยสัมพันธ์ในการประสานผู้เขียน เพื่อปรับแก้ไขต้นฉบับได้
การนำสื่อหนังสือเรียนไปใช้ ๑. อ่านและศึกษาคำชี้แจงในหนังสือเรียนทุกครั้ง ๒. ทำความเข้าใจจุดมุ่งหมายของเนื้อหาในบทเรียน และวิเคราะห์เป้าหมายการนำเสนอเนื้อหาในแต่ละบท ๓. นำตัวชี้วัดที่กำหนดไว้ในมาตรฐานการเรียนรู้ ไปจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เพื่อให้การเรียนรู้บรรลุ เป้าหมายของตัวชี้วัดในหลักสูตร ๔. ออกแบบกิจกรรม หรือสื่อการเรียนรู้เพิ่มเติมนอกเหนือ จากเนื้อหาในบทเรียน