Ecology นิเวศวิทยา Jaratpong moonjai.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ชีววิทยา (Biology) มัธยมศึกษาตอนต้น.
Advertisements

ประชากร umaporn.
ENVIRONMENTAL SCIENCE
ลักษณะของระบบนิเวศ Succession /Development ecosystem
ครูนุชนารถ เมืองกรุง โรงเรียนฟากกว๊านวิทยาคม อ. เมือง จ. พะเยา
ดิน(Soil).
เศรษฐกิจในชีวิตประจำวัน
เซลล์และกระบวนการดำรงชีวิตของพืช
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สิ่งแวดล้อม หมายถึง สิ่งที่อยู่รอบ ๆ ตัวเรา มีทั้งสิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิต สิ่งมีชีวิตมีความสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมทั้งสิ่งมีชีวิตด้วยกันและกับสิ่งไม่มีชีวิต.
1.ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural Resource)
ภาวะโลกร้อน (Global Warming).
ความหลากหลายทางชีวภาพของสัตว์
ความหลากหลายทางชีวภาพของพืช
โครงงานสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพบริเวณป่าชายเลนบ้านอำเภอ
นิเวศวิทยาและพฤติกรรม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นันทนา คชเสนี
เพราะฉะนั้น ในแต่ละลำดับขั้นของระบบชีวิตจะมีปฏิสัมพันธ์เกี่ยวกับ
ระบบนิเวศ (Ecology) Gajaseni, 2001.
ผลจากปฏิสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 3 ทรัพยากรดิน.
ความสำคัญของพืชและอนาจักรพืช
สิ่งแวดล้อมรอบตัว.
บทที่ 2 ECOSYSTEM ระบบนิเวศ “ECOSYSTEM” หรือ “ECOLOGICAL SYSTEM”
“ไม่มีสิ่งมีชีวิตชนิดใด ที่สามารถอยู่ได้ตามลำพัง”
การปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อม
ทำไม..ที่นี่ไม่มีต้นไม้
BIO-ECOLOGY 2.
Energy and the environment พลังงานและสิ่งแวดล้อม
การคิดเชิงระบบ และการคิดเชิงวิเคราะห์
ระบบนิเวศ (ECOSYSTEM)
สารมลพิษ โชคชัย บุตรครุธ.
การบำบัดน้ำเสีย อ.วีระศักดิ์ สืบเสาะ.
อาจารย์วีระศักดิ์ สืบเสาะ
เทคโนโลยีชีวภาพ เสาวลักษ์ สารรัมย์.
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
คุณสมบัติของเซลล์ เพิ่มจำนวนได้โดยการแบ่งเซลล์
องค์ประกอบต่างๆของสิ่งแวดล้อม ที่มีผลต่อสุขภาพของมนุษย์
สถานการณ์ แนวโน้มและผลกระทบ จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
ความเชื่อมโยงวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมกับการจัดการเทคโนโลยี การใช้ทรัพยากร อย่างยั่งยืน การผลิต เข้าใจพื้นฐาน สิ่งแวดล้อม ปราศจาก มลภาวะและการสูญเสีย.
Energy Flow and Mineral Cycling
วิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
การสำรวจผีเสื้อกลางวัน
เรื่อง เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
นางสาวเพ็ญศรี กล่อมคุ้ม
เอนไซม์ ( Enzyme ) เอนไซม์ คือ ตัวเร่งปฏิกิริยาทางชีวภาพ เป็นสารประกอบพวกโปรตีน เอนไซม์จะเร่งเฉพาะชนิดของปฏิกิริยา และชนิดของสารที่เข้าทำปฏิกิริยา เอนไซม์บางชนิด.
การถ่ายทอดพลังงานในระบบนิเวศ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
บทที่ 4 พืชมีการตอบสนอง
ระบบนิเวศสิ่งแวดล้อม
ศูนย์บริหารศัตรูพืชจังหวัดสงขลา กรมส่งเสริมการเกษตร
Ecology.
( Natural farming) เกษตรธรรมชาติ.
การบริหารจัดการศัตรูพืชที่สำคัญ โดย
ทรัพยากรในทางเศรษฐศาสตร์
สำรวจสภาพปัญหาและเสนอแนวทางการแก้ปัญหาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
จัดทำโดย เด็กหญิง นันท์นภัส ขะชาติ ชั้น ม.1/13 เลขที่ 24
นายณัฐวุฒิ ปานแก้ว รหัส 039 คอม ปวช 1/2
มลพิษน้ำการป้องกัน 2.
วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง พืช
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
อาหารปลอดภัยด้านประมง
การเจริญเติบโตของพืช
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
จัดทำโดย ปฏิภาณ ไชยกุล อดิศร สุดดวง
สารอาหารที่จุลินทรีย์ผลิตแอลกอฮอล์ต้องการ
หน่วยการเรียนที่ 2 สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรทางธรรมชาติ
การเกษตร จัดทำโดย ด. ญ. ปุณนภา ปิวศิลป์ เสนอ ครู อรอุมา พงค์ธัญญะดิลก โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน.
น้ำ.
21.5 การเปลี่ยนแปลงแทนที่
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
Kingdom Plantae.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Ecology นิเวศวิทยา Jaratpong moonjai

จุดมุ่งหมายในสัปดาห์นี้ ความหมายของนิเวศวิทยา ประเภทของการศึกษานิเวศวิทยา ประเภทของระบบนิเวศ โครงสร้างของระบบนิเวศ โครงสร้างทางชีวภาพ โครงสร้างทางฟิสิกส์ และเคมี

คำจำกัดความของนิเวศวิทยา Ecology = Okios + logos Oikos = บ้านหรือที่อยู่อาศัย Logos = การมีเหตุผลหรือความคิด Ecology = Okios + logos = การศึกษาถึงความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตที่มีต่อบ้านหรือแหล่งที่อยู่แหล่งที่อยู่....คือ....สิ่งแวดล้อม ประเด็นของคำจำกัดความ

ประเภทของระบบนิเวศ ดูจากลักษณะการถ่ายเทมวลสารและพลังงานแบ่งได้เป็น ระบบนิเวศอิสระ (Isolated ecosystem) เป็นระบบนิเวศตามทฤษฎีเท่านั้น ไม่มีการถ่ายเทพลังงานและมวลสารภายในระบบกับสิ่งแวดล้อมภายนอก ระบบนิเวศแบบปิด (Closed ecosystem) มีการถ่ายเทพลังงานจากสิ่งแวดล้อม แต่ไม่มีการถ่ายเทสารระหว่างระบบนิเวศกับสิ่งแวดล้อม ระบบนิเวศแบบเปิด (Open ecosystem) มีการถ่ายเทพลังงานและมวลสารระหว่างระบบนิเวศกับสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นลักษณะของระบบนิเวศที่พบได้ทั่วไป

ประเภทของระบบนิเวศ การศึกษานิเวศวิทยาอาจศึกษาโดยพิจารณาจากแหล่งที่อยู่เป็น นิเวศวิทยาน้ำจืด (Fresh water ecology หรือ Limnology) นิเวศวิทยาน้ำเค็ม (Marine ecology) นิเวศวิทยาบนบก (Terrestrial ecology) นิเวศวิทยาน้ำกร่อย (Estuary ecology)

ประเภทของระบบนิเวศ แบ่งตามลักษณะทางอนุกรมวิธาน อาจแบ่งตามแขนงใหญ่ ๆ เป็นนิเวศวิทยาพืช และนิเวศวิทยาสัตว์ นิเวศวิทยาของพืช (plant ecology) นิเวศวิทยาของสัตว์ (animal ecology) นิเวศวิทยาของแมลง (insect ecology) นิเวศวิทยาของจุลินทรีย์ (microbial ecology) นิเวศวิทยาของสัตว์มีกระดูกสันหลัง (vertebrate ecology)

โครงสร้างของระบบนิเวศ โครงสร้างที่เป็นองค์ประกอบที่ไม่มีชีวิต (Abiotic Factor หรือ Abiotic Component) โครงสร้างที่เป็นองค์ประกอบที่มีชีวิต (Biotic Factor หรือ Biotic Component)

องค์ประกอบที่ไม่มีชีวิต ประกอบด้วย สารประกอบอินทรีย์ และอนินทรีย์ (abiotic substant) และสภาพแวดล้อมทางกายภาพ (Abiotic environment) ไม่ว่าจะเป็น สภาพภูมิอากาศ (Climate) : อุณหภูมิ, น้ำ, ความชื้น, แสง, ลม ลักษณะทางธรณีวิทยา : ดิน, หิน, แร่ธาตุ การเปลี่ยนแปลงจากสิ่งรบกวน (Disturbance) : * การรบกวนตามธรรมชาติ เช่น ภูเขาไฟระเบิด, ไฟ, แผ่นดินไหว, พายุ * การรบกวนที่มีสาเหตุจากมนุษย์

องค์ประกอบที่ไม่มีชีวิต สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ มีผลต่อสิ่งมีชีวิตในหลาย ๆ ด้านเช่น จำนวนชนิดของสิ่งมีชีวิตในบริเวณใดบริเวณหนึ่ง การแพร่กระจายของสิ่งมีชีวิต จำนวนประชากรสิ่งมีชีวิต รูปร่างลักษณะของสิ่งมีชีวิต พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต

องค์ประกอบที่มีชีวิต ผู้ผลิต (Producer หรือ Autotroph) ผู้บริโภค (Consumer หรือ Phagotroph) ผู้ย่อยสลายอินทรียสาร (Decomposer หรือ Saphotroph)

ผู้ผลิต (Producer หรือ Autotroph) เป็น Autotrophic Organism

ผู้ผลิต (Producer หรือ Autotroph) สามารถสร้างอาหารได้เองโดยอาศัยคลอโรฟิลล์เป็นรงควัตถุที่ใช้จับพลังงานจากแสงอาทิตย์ นอกจากพืชแล้วสิ่งมีชีวิตอื่นที่สามารถทำหน้าที่เป็นผู้ผลิตได้ได้แก่ สาหร่ายเซลล์เดียว และแบคทีเรียพวก Cyanobacteria www.themegallery.com Company Logo

ผู้บริโภค (Consumer หรือ Phagotroph) เป็น Heterotrophic Organism ผู้บริโภคแบ่งออกเป็นหลายชนิดตามอาหารที่มันกินเช่น ผู้บริโภคพืช (Herbivore) ผู้บริโภคสัตว์ (Carnivore) ผู้บริโภคทั้งพืชและสัตว์ (Omnivore) ผู้บริโภคซาก (Detritivore – บริโภคซากอินทรีย์ที่ทับถมในดิน หรือ Scavenger – บริโภคซากตาย)

ผู้บริโภค (Consumer หรือ Phagotroph) แบ่งตามลำดับการบริโภคเป็น ผู้บริโภคปฐมภูมิ (Primary consumer) ซึ่งโดยทั่วไปจะเป็นผู้บริโภคพืช ผู้บริโภคทุติยภูมิ (Secondary consumer) โดยทั่วไปเป็นสัตว์ที่กินเนื้อของสัตว์ที่กินพืชเป็นอาหาร โดยทั่วไปมีขนาดใหญ่และแข็งแรง ผู้บริโภคลำดับตติยภูมิ (Tertiary consumer) จตุรภูมิ (Quatiary consumer) และต่อ ๆ ไป ผู้บริโภคลำดับสูงสุด (Top Carnivore) เป็นผู้บริโภคที่มักจะไม่ถูกกินโดยสัตว์อื่นต่อไป

ผู้บริโภค (Consumer หรือ Phagotroph)

ผู้ย่อยสลายอินทรียสาร (Decomposer หรือ Saphotroph) มีบทบาทสำคัญในวัฏจักรการหมุนเวียนสารอินทรีย์-สารอนินทรีย์ในระบบนิเวศ ไม่สามารถสร้างอาหารเองได้ จะดูดซึมอาหารที่มันย่อยโดยการหลั่งเอนไซม์ออกไปย่อยซากอินทรีย์ที่อยู่ในธรรมชาติ สิ่งมีชีวิตกลุ่มนี้จัดเป็น Heterotroph

คำถาม ปัจจัยทางกายภาพมีผลต่อพฤติกรรมและการกระจายตัวของสิ่งมีชีวิตอย่างไร ประเด็นสำคัญในการศึกษาระบบนิเวศ 3 ประเด็นคืออะไร มีความสำคัญต่อการเรียนนิเวศวิทยาอย่างไร

ปฏิบัติการที่ 1 การเปรียบเทียบรูปแบบและองค์ประกอบของระบบนิเวศ Next weeK ปฏิบัติการที่ 1 การเปรียบเทียบรูปแบบและองค์ประกอบของระบบนิเวศ