โรงเรียนดีประจำตำบล สถานศึกษายุคใหม่ ที่สอดคล้องกับการปฏิรูปการศึกษาทศวรรษที่สอง การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง ให้โอกาสทางการศึกษาที่เท่าเทียมกันอย่างมีคุณภาพ ตามมาตรฐานการคึกษาโดยคำนึงถึงสิทธิเด็ก จากการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน
ประชากรตามกลุ่มอายุจำแนกรายปี 1950 - 2050 100 ปี
งบประมาณการจัดการศึกษาของประเทศปี 1997- 2009 Million Baht
Roadmap สู่การพัฒนาคุณภาพโรงเรียน 31,508 ร.ร. ตามยุทธศาสตร์การปฏิรูป ดีประจำตำบล 1 : 1 ดีประจำอำเภอ 1 : 3 ดีประจำจังหวัด 1 : 5 Roadmap สู่การพัฒนาคุณภาพโรงเรียน 31,508 ร.ร. 500 182+6,818 7,000 2,500 21,508 รุ่น 1 ครบ 920 รุ่น 2 ผ่าน 692 ค้าง 173 ใน 85 สพท. รุ่น 3 ผ่าน 4 ค้าง 711 ในทุก สพท. ร.ร.ขนาดเล็ก ยุบ/โอน>50% ตามยุทธศาสตร์การปฏิรูป
โรงเรียนระดับ World Class โรงเรียนดีประจำอำเภอ โรงเรียนดีประจำตำบล การมีส่วนร่วม คุณภาพ โอกาส
ภายใน 4 เดือนแรก (ก.ย.- ธ.ค.2553) เป้าหมายโรงเรียน 7 ประการ โรงเรียนดีประจำตำบล ภายใน 4 เดือนแรก (ก.ย.- ธ.ค.2553) เป้าหมายโรงเรียน 7 ประการ 1.มีแผนยุทธศาสตร์ที่ชัดเจน เชื่อมั่นว่าทำได้จริง 2.มีเป้าหมายพัฒนานักเรียนที่ทุกคนเข้าใจถูกต้องตรงกัน 3.มีความสะอาดทุกแห่งที่เกิดจากจิตสำนึกของนักเรียน 4.มีบริเวณโดยรอบ ร่มรื่น สวยงามด้วยร่มเงาธรรมชาติ 5.มีบรรยากาศอบอุ่นเหมือนบ้าน สีสันสดใส 6.มีความปลอดภัย ปลอดสารเสพติด 7.เปิดโอกาสให้ อปท.มีส่วนร่วมเป็นเจ้าของและพัฒนา 7 สตผ.นำคณะออกติดตามผลทุกโรงเรียนดีอำเภอ/ดีตำบล รายงานผลความคืบหน้ารายโรง/รายเขต ต่อ สพฐ. สพฐ.รายงานผลต่อ รมว.ทุก 4 เดือน
ภายใน 4+4 = 8 เดือน (ม.ค.- เม.ย.2554) โรงเรียนดีประจำตำบล ภายใน 4+4 = 8 เดือน (ม.ค.- เม.ย.2554) เป้าหมาย 7+7 ประการ 1.มีห้องสมุด 3 ดี มีการจัดกิจกรรมรักการอ่าน นร.ได้ใช้ห้องสมุดทุกคน 2.มีห้องปฏิบัติการภาษา วิทยาศาสตร์ คอมพิวเตอร์ ได้ใช้งานอย่างคุ้มค่า 3.มีศูนย์การเรียนรู้งานอาชีพที่ครบวงจร สร้างอาชีพ หารายได้ระหว่างเรียน 4.เป็นศูนย์กีฬาชุมชนครบวงจร มีสนามกีฬา มีกิจกรรมและการดูแลรักษา 5.มีห้องสุขานักเรียนที่สะอาด เพียงพอ ปลอดภัย ถูกสุขลักษณะ 6.ครูใช้แหล่งเรียนรู้ ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น ใช้สื่อเทคโนโลยีทันสมัยในการสอน 7.ผู้บริหารเป็นที่ยอมรับในการเป็นนักพัฒนาและผู้นำการเปลี่ยนแปลง 7 สตผ.นำคณะออกติดตามผลทุกโรงเรียนดีอำเภอ/ดีตำบล รายงานผลความคืบหน้ารายโรง/รายเขต ต่อ สพฐ. สพฐ.รายงานผลต่อ รมว.ทุก 4 เดือน
ภายใน 4+4+4 = 12 เดือน (พ.ค.- ส.ค.2554) เป้าหมายนักเรียน 7 ประการ โรงเรียนดีประจำตำบล ภายใน 4+4+4 = 12 เดือน (พ.ค.- ส.ค.2554) เป้าหมายนักเรียน 7 ประการ 1.มีจำนวนนักเรียนเพิ่มขึ้น (ชื่อเสียงดี) 2.มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่าเดิม/>ค่าเฉลี่ย สพฐ. (ใฝ่รู้) 3.อ่านคล่อง เขียนคล่องนับแต่ชั้น ป.2 ขึ้นไป (ใฝ่เรียน) 4.มีความซื่อสัตย์ สุจริต (ใฝ่ดี) 5.มีวินัย ยิ้มไหว้ทักทายกัน (มีความเป็นไทย) 6.มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตดี (สุขภาพดี) 7.ใช้ ICT ได้ รักงานอาชีพ (รักงานอาชีพ) 7 สตผ.นำคณะออกติดตามผลทุกโรงเรียนดีอำเภอ/ดีตำบล รายงานผลความคืบหน้ารายโรง/รายเขต ต่อ สพฐ. สพฐ.รายงานผลต่อ รมว.ทุก 4 เดือน
21 Roadmap 7 7 7 การพัฒนาคุณภาพ โรงเรียนดีประจำตำบล 1.แผน 2.เป้าหมาย 3.สะอาด 4.ร่มรื่น สวยงาม 5.อบอุ่น สีสันสดใส 6.ปลอดภัย 7.อปท.มีส่วนร่วม 7 7 7 1.ห้องสมุด 3 ดี 2.ห้องปฏิบัติการ 3.ศูนย์การเรียนรู้อาชีพ 4.ศูนย์กีฬาชุมชน 5.ห้องสุขาถูกสุขลักษณะ 6.ครูใช้แหล่งเรียนรู้ ใช้ ICT 7.ผู้บริหารนำการเปลี่ยนแปลง 1.ชื่อเสียงดี 2.ใฝ่รู้ 3.ใฝ่เรียน 4.ใฝ่ดี 5.มีความเป็นไทย 6.สุขภาพดี 7.รักงานอาชีพ 21 สตผ.นำคณะออกติดตามผลทุกโรงเรียนดีอำเภอ/ดีตำบล รายงานผลความคืบหน้ารายโรง/รายเขต ต่อ สพฐ. สพฐ.รายงานผลต่อ รมว.ทุก 4 เดือน
5,818 1,000 182 7,000 โรงเรียนดีประจำตำบล
การคัดเลือก อปท. สพท. สพฐ. พิจารณาคัดเลือกโรงเรียนแต่ละตำบลส่งให้ สพท. พิจารณากลั่นกรองจัดลำดับส่งมาให้ตามเกณฑ์ที่กำหนด 7,409 ตำบล x 1-3 ร.ร. สพฐ. 11-13 ต.ค.สนผ./สนก./สทร./สำนักฯคัดเลือกผ่านกรรมการ 40 ทีมทุกเขตตรวจ x 3 คน + ส่วนกลาง 15 สนผ.ประกาศและเชิญผู้แทน 1,182 ร.ร.เข้าร่วมงาน MOU
การจัดงานเปิดตัวโครงการโรงเรียนดีประจำตำบล พร้อมทำ MOU ร่วมกัน ระหว่างกระทรวงศึกษาธิการ VS กระทรวงมหาดไทย ฯพณฯ นายกรัฐมนตรีเป็นประธาน วันศุกร์ที่ 5 พฤศจิกายน 2553 ณ Hall 7,8 เมืองทองธานี สักขีพยานกว่า 3,000 คน พร้อมถ่ายทอดสดทั่วประเทศ
Concept เพื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ โครงการโรงเรียนดีประจำตำบล แสดงผลภาพความสำเร็จโครงการแรกที่ผ่านมา แถลงนโยบายในการดำเนินงานในปี ๒๕๕๔ ประกาศการ MOU ระหว่าง กระทรวงศึกษาธิการ กับ กระทรวงมหาดไทย 13
โครงการโรงเรียนดีประจำตำบล Theme/ รูปแบบ กิจกรรมมุ่งเน้น การสร้างความตระหนักและแรงจูงใจ ในการเข้ามามีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน ด้วยการประสานความร่วมมือเพื่อพัฒนา ยกระดับคุณภาพการศึกษาในทุกมิติ ของ โครงการโรงเรียนดีประจำตำบล 14
ขอบเขตงาน ก่อนงาน ระหว่างงาน หลังงาน 15
ผู้ร่วมงาน 3,000 คน ประกอบด้วย (สนผ.รับผิดชอบ) ผู้ร่วมงาน 3,000 คน ประกอบด้วย (สนผ.รับผิดชอบ) นายกรัฐมนตรี และคณะ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และคณะ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย และคณะ ผู้บริหารระดับนโยบายทั้งสองกระทรวง ผู้อำนวยการเขตพื้นที่การศึกษาทุกท่าน (ประถม/มัธยม) ผู้บริหารโรงเรียนดีประจำตำบล 1,182 ร.ร. ผู้บริหารโรงเรียนดีประจำอำเภอ 182 ร.ร. (ร.ร.คู่พัฒนา) ผู้บริหารในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อบจ./อบต./เทศบาล) ผู้แทนภาคประชาชน ผู้แทนครูโรงเรียนดีประจำตำบล 182 ร.ร. ผู้แทนนักเรียน 182 ร.ร. ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง
พิธีลงนาม/ถ่ายทอดสด 09.00-10.00 น. ฯพณฯ นายกรัฐมนตรี ประธานในพิธีเดินทางมาถึง 09.00 น. วงโยธาวาทิตนักเรียนบรรเลงเพลงมหาฤกษ์ 2 นาที VTR สรุปภาพโครงการโรงเรียนดีประจำตำบล 5 นาที การแสดงละครจากนักเรียน 8 นาที รมว.ศธ.กล่าวรายงาน 5 นาที นรม.กล่าวเปิดและปาฐกถานโยบายรัฐบาล 10 นาที ลงนามร่วมกันระหว่าง รมว.ศธ VS รมว.มท โดย นรม. และ เลขาธิการ VS อธิบดีกรมส่งเสริมฯ ผู้บริหารหลัก 2 กระทรวง x 5 ท่าน x ผู้แทนทุกภาคส่วน 15 คน เป็นพยาน + (ทดเวลาจัดสถานที่) 15 นาที ถ่ายภาพร่วมกัน 5 นาที ชมนิทรรศการ x-rays โรงเรียนดีประจำตำบล (จำลอง) 1 โรงเรียนที่มีห้องและกิจกรรมสำคัญครบ 15 นาที นรม.เดินทางกลับ เวลา 10.00 น.
กิจกรรมต่อจากพิธีเปิด เวทีเสวนาแนวทางประสานความร่วมมือ ระหว่างผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง โดยพิธีกรมืออาชีพ ระหว่าง รมว.ศธ+มท. อปท. ร.ร. ฯลฯ การแสดงความสามารถของนักเรียน ชมนิทรรศการ ยกโรงเรียนดีประจำตำบลเสมือนจริง มาให้ชมกันใน Hall โดยการนำเสนอของเด็กนักเรียน ตั้งแต่ระดับอนุบาลถึงระดับมัธยมปลาย ซื้อของที่ระลึกจากผลิตภัณฑ์งานอาชีพนักเรียน
การประชาสัมพันธ์ก่อนงาน 1.แถลงข่าวก่อนจัดงาน (นสพ.) 2.Spot โฆษณาทาง TV TV 3, 5, 7, 9, 11 3.สารคดีสั้น 5 ตอน x 2 นาที TV 4.สนทนาสดรายการ TV x 5 ครั้ง คุยข่าวสิบโมง ททบ.5 บ่ายนี้มีคำตอบ Modern 9 TV เกาที่คัน NBT ประเด็นดังหลังข่าว NBT คัดข่าวเด่น NBT 5.ประชาสัมพันธ์ข่าวทางวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย โรงเรียน ดีประจำตำบล
ซุ้มประตูทางเข้าบริเวณงาน
ผังบริเวณงาน Hall 7 , 8
นิทรรศการภายในโรงเรียนดีประจำตำบล การจำลองภาพความสำเร็จของโรงเรียนดีประจำตำบล ที่มีองค์ประกอบสำคัญครบถ้วน ได้แก่ ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ * ห้องปฏิบัติการภาษาไทย ภาษาต่างประเทศ ห้องปฏิบัติการคณิตศาสตร์ ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ ห้องศิลปะ ดนตรี วัฒนธรรม ห้องสมุด 3 ดี ** ศูนย์การเรียนรู้งานอาชีพชุมชน *** ศูนย์กีฬาชุมชน สระว่ายน้ำ ฯลฯ ห้องสุขานักเรียน * มีนักเรียนพิเศษเรียนร่วม ** มีกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน *** มีการแสดงรถรับส่งนักเรียน
ป้ายโรงเรียนจำลองที่แสดงนิทรรศการเสมือนจริง
ห้องจำลองในโรงเรียน
เวทีการจัดงานขนาด 24 x 12 เมตร
การจัดแสดงภายในงาน 20 Booth จำหน่ายผลิตภัณฑ์นักเรียน เพื่อสร้างงาน สร้างอาชีพ ในการหารายได้ระหว่างเรียน Roll up/ J Flag นโยบายรัฐบาลเกี่ยวกับการศึกษา มีรูปภาพ นรม. รมว. ข้อหารือ LOGO โรงเรียนดีประจำตำบล Diary 2011 เล่มเล็ก โรงเรียนดีประจำตำบล แสดงกรอบนโยบาย รายชื่อและสถานที่ตั้ง โรงเรียนดีประจำตำบลและโรงเรียนคู่พัฒนา
การประชาสัมพันธ์หลังงาน สกู๊ปข่าว TV 1 นาที ทุกช่อง บทความทาง นสพ.
โรงเรียนดีประจำตำบล Present by 29
เป้าหมาย โรงเรียนดีประจำตำบล สนผ. /สนก./สวก./สอ. สทร./สตผ./สทศ./สพศ.
ข้อเสนอแนะ ประกาศจุดเน้นในระดับนโยบาย ให้เป็นชุดความคิดเดียวกัน ในลักษณะสถานศึกษายุคใหม่ 2. ต้องเชื่อมโยงนโยบายรัฐบาลในจุดเปลี่ยนที่สำคัญในการพัฒนา คุณภาพโรงเรียนมุ่งสู่ความเป็นเลิศในระดับมาตรฐานสากล รอยต่อของโรงเรียนดีประจำอำเภอกับโรงเรียนดีประจำตำบล ต้องเชื่อมโยงกับหน่วยงานหลักอื่น เช่น กระทรวง ICT, สาธารณสุข เกษตรและสหกรณ์ มหาดไทย การทำ MOU ต้องสื่อสารให้เห็นในระดับปฏิบัติด้วย คือ อบต. VS รร. และต้องเพิ่มบทบาทกระทรวงมหาดไทย การเชื่อมโยง กศน.สนับสนุนอะไรบ้าง ครูที่อยู๋ในโรงเรียนดี มีศักยภาพอะไรบ้าง ภาพที่เกิดกับชุมชนของโรงเรียนดีประจำตำบลคืออะไร เอกสารเห็นด้วย เป็นคู่มือ มีกรอบแนวคิดรัฐบาล การเชื่อมต่อ การปฏิรูปรอบสอง มีรายชื่อโรงเรียน ฯลฯ 8. LOGO ควรมี ให้อยู่ใน pack เดียวกัน
เวทีการจัดงานขนาด 24 x 12 เมตร