เทคโนโลยีสารสนเทศในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อ พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2548
Advertisements

โปรแกรมฝึกหัด การเลื่อนและคลิกเมาส์
กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี โรงเรียนมัธยมวานรนิวาส
วิชา องค์ประกอบศิลป์สำหรับคอมพิวเตอร์ รหัส
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
การพัฒนาระบบฐานข้อมูล
Social Network Conference
แนวทางการรายงานผลการปฏิบัติราชการโดยผ่านระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
ระบบสารสนเทศแผนงานบำรุงทาง
E-Service รศ. ดร. อนงค์นาฏ ศรีวิหค สำนักบริการคอมพิวเตอร์ มก.
การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชี้ สกอ. และ สมศ.
การสืบค้นข้อมูลจาก Web OPAC
การบริหารงานของห้องสมุด
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
การพัฒนาระบบห้องสมุดอัตโนมัติเพื่อเชื่อมโยง
ขวัญตระกูล กลิ่นสุคนธ์ สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร
การสืบค้นข้อมูลบนระบบเครือข่าย อินเทอร์เน็ต
กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ โรงเรียนบ้านหนองกุง อำเภอนาเชือก
การขอเบิกเงินนอกงบประมาณ
ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ สำหรับสถาบันอุดมศึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปริศนา มัชฌิมา
การสืบค้นข้อมูลจาก Web OPAC
เครื่องยืมหนังสืออัตโนมัติด้วยตนเอง Self Check
บทบาทการบริหารงานสำนักงาน 1
Kampol chanchoengpan it สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ Arithmetic and Logic Unit 1.
รายงานในระบบบัญชีแยกประเภททั่วไป (GL – General Ledger)
ระบบการเบิก-จ่าย ลูกหนี้เงินยืม
ทำการตั้งเบิกเพิ่ม แบบฟอร์ม GFMIS.ขบ.02 เพื่อชดใช้ใบสำคัญ
โครงสร้างทรัพยากรสารสนเทศ
งานวิชาการ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
แนวทางการปฏิบัติโครงการจูงมือ น้องน้อยบนดอยสูง 1.
ความคิดเห็นของข้าราชการเกี่ยวกับ สวัสดิการการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2546
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
การสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สรุปผลการสำรวจ ความต้องการของประชาชนเกี่ยวกับ
ฝ สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน / ผู้ประกอบการ
Virtual Library ห้องสมุดเสมือน.
การรายงานผลการจัดการศึกษา เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา
ณัฏฐวุฒิ เอี่ยมอินทร์
เรื่อง ความรู้ไร้พรมแดน
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ (Computer Architecture)
เทคนิคการสืบค้น Google
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่6
มาตรฐานและเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับ ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ
บทบาทของ สารสนเทศ จัดทำโดย น. ส อมรรัตน์ เม่งบุตร 002.
E-Sarabun.
เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
..เทคโนโลยีการใช้RFIDกับงานในห้องสมุด
การลงข้อมูลแผนการสอน
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร อ32204
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
อินเทอร์เน็ต.
เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับ ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ
การใช้งานอินเตอร์เน็ต
Internet Service Privider
RMCDOTNET โปรแกรมบริหารระบบบำรุงรักษาในโรงพยาบาล
การดำเนินงานห้องสมุดเฉพาะ และศูนย์สารสนเทศ
การดำเนินงานห้องสมุดเฉพาะ และศูนย์สารสนเทศ
การพัฒนาการเรียนรู้รายวิชาการโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วย e-Learning
แผนการจัดการเรียนรู้
โครงสร้างข้อมูลแบบ สแตก (stack)
และเราจะเดินไปพร้อมกัน
โครงการจัดทำฐานข้อมูลผ่านเว็บไซต์
Acquisition Module.
อินเทอร์เน็ต ( Internet )
เทคโนโลยีสารสนเทศในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เทคโนโลยีสารสนเทศในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ 436 285 เทคโนโลยีในห้องสมุดเฉพาะ เทคโนโลยีสารสนเทศในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ อ.จุฑาทิพย์ จันทร์ลุน

ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อห้องสมุดเฉพาะฯ 1. ช่วยในการบันทึกข้อมูลข่าวสาร และสารสนเทศต่างๆ ได้อย่างรวดเร็ว 2. บันทึกข้อมูลและสารสนเทศได้เป็นจำนวนมาก 3. สามารถสืบค้นข้อมูลและสารสนเทศได้อย่างรวดเร็ว 4. สามารถสื่อสารไปใช้ในระยะไกลได้

เทคโนโลยีในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ 1. โปรแกรมคอมพิวเตอร์ 1.1 โปรแกรมสำนักงาน โปรแกรมจัดการงานเอกสาร โปรแกรมจัดการฐานข้อมูล โปรแกรมสเปรดชีท

เทคโนโลยีในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ 1. โปรแกรมคอมพิวเตอร์ 1.2 โปรแกรมห้องสมุดอัตโนมัติแบบบูรณาการ ลักษณะ เป็นระบบเบ็ดเสร็จ เป็นโปรแกรมที่ทำงานในระบบเครือข่าย เป็นโปรแกรมที่ออกแบบมาสำหรับงานห้องสมุด โดยเฉพาะ เป็นโปรแกรมที่พัฒนาขึ้นสำหรับงานห้องสมุดทุกงาน

เทคโนโลยีในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ 1. โปรแกรมคอมพิวเตอร์ 1.2 โปรแกรมห้องสมุดอัตโนมัติแบบบูรณาการ ตัวอย่างโปรแกรม Innopac L Spider Library 2000 VTLS Alice for Window

เทคโนโลยีในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ การพิจารณานำระบบห้องสมุดอัตโนมัติมาใช้ เลือกขนาดโปรแกรมให้เหมาะสมกับขนาดห้องสมุด ให้เลือกซื้อระบบงานที่จำเป็นก่อน ผู้ผลิตมีความมั่นคง หากไม่พร้อมด้านการเงินอาจใช้โปรแกรมฟรี หรือคิด ขึ้นเอง

เทคโนโลยีในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ 2. เทคโนโลยีที่ใช้ร่วมกับระบบห้องสมุดอัตโนมัติ 2.1 บาร์โค้ด 2.2 เครื่องอ่านบาร์โค้ด 2.3 RFID 2.4 Self Checkout 2.6 ประตูกันขโมย 2.7 แถบสัญญาณแม่เหล็ก 2.8 เครื่องลบ / เพิ่ม สัญญาณแม่เหล็ก

เทคโนโลยีในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ 2.1 บาร์โค้ด ส่วนประกอบของบาร์โค้ด 1. ส่วนลายเส้นซึ่งเป็นลายเส้นสีขาว (โปร่งใส) และสีดำ 2. ส่วนข้อมูลตัวอักษร 3. แถบว่าง

เทคโนโลยีในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ ประเภทของบาร์โค้ด บาร์โค้ด 1 มิติ บาร์โค้ด 2 มิติ บาร์โค้ดกับงานห้องสมุด บัตรประจำตัวสมาชิก (Patron/ User Card) เลขประจำหนังสือ (Item Barcode)

เทคโนโลยีในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ

เทคโนโลยีในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ 2.2 เครื่องอ่านบาร์โค้ด

เทคโนโลยีในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ 2.3 RFID : Radio Frequency Identification 1. ป้ายระบุข้อมูลของวัตถุ (Tag)

เทคโนโลยีในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ 2.3 RFID : Radio Frequency Identification 2. เครื่องอ่านสัญญาณความถี่วิทยุ

เทคโนโลยีในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ RFID กับงานห้องสมุด บริการรับคืนวัสดุสารสนเทศ

เทคโนโลยีในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ RFID กับงานห้องสมุด เรียงวัสดุสารสนเทศ

เทคโนโลยีในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ RFID กับงานห้องสมุด ระบบรักษาความปลอดภัยของวัสดุสารสนเทศ

เทคโนโลยีในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ RFID กับงานห้องสมุด เครื่องตรวจสอบชั้นวางวัสดุสารสนเทศ

เทคโนโลยีในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ RFID กับงานห้องสมุด เครื่องบริการยืม-คืน วัสดุสารสนเทศอัตโนมัติ

เทคโนโลยีในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ RFID กับงานห้องสมุด การสำรวจวัสดุสารสนเทศและการจัดชั้น

เทคโนโลยีในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ 2.4 Self Checkout

เทคโนโลยีในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ 2.6 ประตูกันขโมย

เทคโนโลยีในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ 2.7 แถบสัญญาณแม่เหล็ก

เทคโนโลยีในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ 2.8 เครื่องลบ / เพิ่ม สัญญาณแม่เหล็ก

เทคโนโลยีในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ 3. เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล 3.1 โทรสารหรือแฟกซ์ 3.2 อีเมล์ 3.3 เครือข่าย ได้แก่ LAN, WAN 3.4 Z39.50 3.5 อินเทอร์เน็ต 3.6 อินทราเน็ต 3.7 web2.0 / Library 2.0

เทคโนโลยีในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ 3. เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล 3.1 โทรสารหรือแฟกซ์ ใช้ในการสื่อสารข้อมูลของห้องสมุดและ หน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง

เทคโนโลยีในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ 3.2 อีเมล์ ใช้ในการติดต่อระหว่างหน่วยงาน และใช้ในการ ให้บริการสารสนเทศแก่ผู้ใช้บริการ

เทคโนโลยีในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ 3.3 เครือข่าย ได้แก่ LAN, WAN สำหรับเชื่อมโยงเครือข่ายของ ห้องสมุดเข้ากับเครือข่ายทั้งจากภายในและภายนอกหน่วยงาน

เทคโนโลยีในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ 3.4 Z39.50 เป็นมาตรฐานกำหนดรูปแบบวิธีการสื่อสารระหว่าง คอมพิวเตอร์เพื่อให้ผู้ใช้งานสามารถสืบค้นไปยังระบบอื่นๆ ได้ มากกว่า 1 ระบบ ได้โดยไม่ต้องมีรายละเอียดเกี่ยวกับรูปแบบ และข้อกำหนดของระบบที่ต้องการติดต่อด้วย

เทคโนโลยีในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ 3.5 อินเทอร์เน็ต มีประโยชน์คือ ใช้ในการสืบค้นสารสนเทศสาขาต่างๆ ใช้ในการติดตามข่าวสารที่ทันสมัยต่างๆ ผู้ใช้สามารถสืบค้นฐานข้อมูลออนไลน์ผ่านเว็บ เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารของห้องสมุดผ่านเว็บได้ เป็นประโยชน์ในการทำงานของบรรณารักษ์

เทคโนโลยีในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ 3.6 อินทราเน็ต ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตภายในองค์กร

เทคโนโลยีในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ 3.7 web2.0 / Library 2.0 Web 2.0 การสร้างเว็บให้ผู้ใช้มีส่วนร่วม Library 2.0 พัฒนามาจากแนวคิดของ Web 2.0

เทคโนโลยีในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ 3.7 web2.0

เทคโนโลยีในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ 3.7 Library 2.0 ผู้ใช้มีส่วนร่วม บริการแบบ “User Center Services”

เทคโนโลยีในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ 3.7 Library 2.0 เครื่องมือที่ใช้ได้แก่ Blog 60 % Wikis 46.7% RSS 73.3% IM 26.7% Social Bookmarking 33.3% http://socialnetworkinglibrarian.com/2010/12/21/social-media-and-library- trends-for-2011/ http://www.collegedegree.com/library/financial-aid/25-useful-social- networking-tools-for-librarians

http://www.onlinedegrees.org/the-top-25-librarian-blogs/

เทคโนโลยีในห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ 4. เทคโนโลยีภาพลักษณ์ 4.1 สื่อที่ใช้ในการจัดเก็บ 4.2 ระบบจัดเก็บเอกสารด้วยคอมพิวเตอร์ DTS XeroxDocuMate Computhink

ปัญหาการนำเทคโนโยลีสารสนเทศมาใช้ในห้องสมุดเฉพาะ 1. ห้องสมุดขาดแคลนงบประมาณ 2. ห้องสมุดขาดแคลนบุคลากรทางด้านเทคโนโลยี สารสนเทศ 3. เทคโนโลยีมักล้าสมัยเร็ว 4. ห้องสมุดเฉพาะส่วนใหญ่มีขนาดเล็ก