L051 ชื่อเรื่อง / โครงการ หัวหน้าทีม ชื่อ...นางสาวสุรีรัตน์...... นามสกุล...ช่วงสวัสดิ์ศักดิ์....... สมาชิกทีม ชื่อ...น.ส.จารุวรรณ... นามสกุล..เหล่านรินทวุฒิ..................

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ภารกิจกำกับดูแลและตรวจสอบภาษี
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
ชื่อกลุ่ม เติมใจให้กัน
โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กลุ่มจามจุรี.
กลุ่มเครือข่ายแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิชาชีพ: กิจการต่างประเทศ
พัฒนาคุณภาพงานและจดทะเบียนตั้งกลุ่ม รุ่นที่ 1 – 6 (ปีที่ 2)
ประเภท โครงการต่อยอด/ขยายผลโครงการเดิม(A)
โครงการเพิ่มช่องทางการรับชำระเงินค่าหอพัก
คำขวัญกลุ่ม “ร่วมแรงร่วมใจแก้ไขปัญหา”
พิมพ์ชื่อบริษัทหรือหน่วยงาน
Lean Health Care Lean. คือ. TQM. โดยการกำจัด Waste
Visual Control งานโภชนาการ รพ.สงขลานครินทร์.
โดย... รัชนก พรหมจันทร์และคณะ หอผู้ป่วยอายุรกรรมชาย 2 และ RCU
สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สรรคุณค่าวิชาการ สู่สังคม
โครงการพัฒนาคุณภาพระบบงาน
งานสวัสดิการ ฝ่ายบริหารงานบุคคล สำนักบริหารทรัพยากรมนุษย์
โครงการพัฒนาคุณภาพระบบงาน
โปรแกรมสำหรับออกรหัสประเภทกิจกรรม (Activity Type)
โครงการ รับเข้าสินค้า รวดเร็ว ทันใจ มีประสิทธิภาพ
เครือข่ายวิชาชีพห้องสมุด
หน่วยงาน สำนักงานจัดการระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
สรุปผลงานโครงการพัฒนาคุณภาพงานประจำปี พ.ศ. 2554
โครงการพัฒนาคุณภาพ ปี 2554
โครงการ “เวทีพบปะ HR ระดับต้น”
ศูนย์หนังสือจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ศูนย์หนังสือจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
หมุนเวียนใช้หมดก่อน Expire
การประยุกต์ใช้ในงานบริการสุขภาพ
ระบบการผลิตแบบลีน (Lean Manufacturing)
ปัญหาที่นำสู่การพัฒนา
การถ่ายทอดตัวชี้วัดลงสู่ระดับสำนัก/กอง และระดับบุคคล
การเริ่มต้นและการวางแผนโครงการ
Lean & PCT อายุรศาสตร์ พงศ์ศักดิ์ ด่านเดชา.
Lean ภาควิชาจิตเวชศาสตร์.
ภาควิชาเวชศาสตร์ชุมชน คณะแพทยศาสตร์ ม.สงขลานครินทร์
กิจกรรมพัฒนาและประกันคุณภาพงานครั้งที่ 70
KM เรื่อง “การบริหารความเสี่ยง” ส่วนบริหารการจัดเก็บภาษี
โครงการ Lean เรื่องกระบวนการรับเวร-ส่งเวร
โดย นางภารดี เจริญวารี
หน่วยตรวจพิเศษหัวใจและหลอดเลือด ศูนย์โรคหัวใจฯ ชั้น 6
การสมัครงานออนไลน์ (E-Application)
การพัฒนาระบบบริการตรวจหัวใจด้วยคลื่นเสียงสะท้อนความถี่สูง (echocardiography)ผ่านผนังทรวงอกในผู้ป่วยเด็ก L047 การพัฒนาระบบบริการตรวจหัวใจ ด้วยคลื่นเสียงสะท้อนความถี่สูง.
The 5 most satisfied items
การวิเคราะห์ขบวนการผลิต (Process Analysis)
การประชุมเชิงปฏิบัติการ หมวด 3 ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย รพ
ระบบเจ้าหนี้ ฝ่ายการเงินและบัญชี โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์
เพ็ญศรี คำเหล็ก พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ ทีมบริหารลูกค้าสัมพันธ์(CRM)
การศึกษาความเป็นไปได้ (Problem Definition and Feasibility Study)
Value Stream Mapping ข้อมูลจากการประชุม
ผู้รับผิดชอบ : สำนักงาน ก.ก.
A3 PROBLEM REPORT A3 PROBLEM SOLVING พญ. พัชร์จิรา เจียรณิชานันท์
1 การจับความรู้ที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม ของทีมทำงานรวมทั้งทบทวนและสะท้อน บทเรียนนำไปสู่การวางแผนต่อไป การให้ข้อมูลป้อนกลับอย่างเป็นระบบกับ ทีมงานในเรื่องผลการปฏิบัติ
โครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลรักษา ผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์
การวางผังของสถานประกอบการ
บทที่ 3 การวิเคราะห์ Analysis.
ปัจจัยของการสร้างนวัตกรรม
การพัฒนาคุณภาพบริการ
Siriraj Lean day วันศุกร์ 11 มีนาคม 2554
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การลดอัตราการติดเชื้อผู้ป่วยที่คาสายสวนปัสสาวะ
โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์
หมวด 6 การจัดการกระบวนการ Process Management
ผลการสำรวจความต้องการ ความ คาดหวัง และความพึงพอใจ ของภาคีเครือข่ายด้านการส่งเสริม สุขภาพและพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่รับผิดชอบ ต่อศูนย์อนามัยที่
สิ่งประดิษฐ์ตู้ส่องสภาพผ้าแบบประหยัด
TQM M4 แจ้งวัฒนะ - ราชพฤกษ์.
การพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
โครงการพัฒนาระบบฐานข้อมูลและโปรแกรม การรายงานสารสนเทศทางการพยาบาล
ชื่อผลงาน/โครงการพัฒนา นวัตกรรมผ้ายืดมหัศจรรย์
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

L051 ชื่อเรื่อง / โครงการ หัวหน้าทีม ชื่อ...นางสาวสุรีรัตน์...... นามสกุล...ช่วงสวัสดิ์ศักดิ์....... สมาชิกทีม ชื่อ...น.ส.จารุวรรณ... นามสกุล..เหล่านรินทวุฒิ.................. ชื่อ...น.ส.อารีย์ ......... นามสกุล..นิ่มทอง............................. ชื่อ...น.ส.รสสุคนธ์.... นามสกุล...เรืองโพน......................... ชื่อ...น.ส.ละออทิพย์.. นามสกุล...พงศ์เกษม......................... ผู้ประสานงาน ชื่อ... นางสาวสุรีรัตน์.... นามสกุล.. ช่วงสวัสดิ์ศักดิ์... โทรศัพท์...7115.. มือถือ.081-6253284..... E-mail ..sureerat.chuang@yahoo.com…… ภาควิชา / หน่วยงาน ...72ปีชั้น 7 ชายเหนือ..........

โครงการลดระยะเวลาในการรับ-ส่งเวร หอผู้ป่วย 72/7 ชายเหนือ โครงการลดระยะเวลาในการรับ-ส่งเวร หอผู้ป่วย 72/7 ชายเหนือ 2 2

1.ปรับกระบวนการเพื่อลดระยะเวลาในการรับ-ส่งเวร 2. ขอบเขตโครงการ (SIPOC) Suppliers / Providers Inputs Process Output Customers พยาบาล, ผู้ปฎิบัติงานพยาบาล (RN,PN) - Kadex - อุปกรณ์ check ต่างๆ เช่น กระดาน record สมุดอัคคีภัย กระดานอาหาร สมุด F2 จุดเริ่มต้น:ผู้ป่วย เตียงแรก (เตียง 1) จุดสิ้นสุด: ผู้ป่วย เตียงสุดท้าย(เตียง 19) 1.ระยะเวลาในการรับ – ส่งเวรลดลง 2. บุคลากรมีความ คล่องตัวเพิ่มขึ้น ลูกค้าภายนอก ผู้ป่วย ลูกค้าภายใน -พยาบาล, ผู้ปฎิบัติงานพยาบาล(RN,PN)

3. แผนภูมิสายธารแห่งคุณค่าก่อนปรับปรุง : ลดระยะเวลาในการรับ-ส่งเวร เริ่มต้น รับ-ส่งเวร เตียง 1 เตียง 4 PT=2-2.5นาที เตียง 5 PT=2-2.5นาที PT=2นาที PT= 2–2.5 นาที เตียง 19 PT=2-2.5นาที Process time (PT) = เวลาที่ใช้ในกระบวนการ = 50 นาที = Delay time (DT ) = ระยะเวลาการรอคอย= 50 นาที Total turn around time (TAT) = รอบเวลาทั้งหมดใช้ในกระบวนการ (PT+DT) = 50 นาที

ตัวอย่างความสูญเปล่า 4. Waste (DOWNTIME) หัวข้อ ตัวอย่างความสูญเปล่า Defect Rework (ทำงานซ้ำเพื่อแก้ไขข้อบกพร่อง) Overproduction (การผลิตหรือให้บริการมากเกินจำเป็น) - ต้องใช้เจ้าหน้าที่ทั้งหมด RN=5-6คน PN= 4-5คน รับฟังส่งเวรพร้อมกัน -ใช้เวลามาก Waiting (การรอคอย) RN,PN เวรเช้ารอรอและฟังการรับ-ส่งเวร RN,PN เวรดึกรอส่งเวรเสร็จทำให้ลงเวรช้า~ 1 ชั่วโมง Not Using Staff Talent (ภูมิรู้ที่สูญเปล่า) - Transportation (การเดินทาง) การround ผู้ป่วยจากเตียงหนึ่งไปอีกเตียงหนึ่ง ใช้เวลามาก ช้า ไม่คล่องตัว Inventory (วัสดุคงคลัง) การใช้เวลามากทำให้งานไม่ไหลลี่น Motion (การเคลื่อนไหว) จำนวนบุคลากรมากเคลื่อนตัวช้า Excessive Processing (ขั้นตอนที่มากเกินจำเป็น) RN 5คน PN 4คน ดูและcomplete ผู้ป่วย 1 คนเป็นการใช้เจ้าหน้าที่มากเกินความจำเป็น

เริ่มต้น รับ-ส่งเวรทีม 1 เริ่มต้น รับ-ส่งเวรทีม 2 5. แผนภูมิสายธารแห่งคุณค่าหลังปรับปรุง : แยกรับส่งเวร 2 ทีม เริ่มเดินพร้อมกัน เตียง 5 PT=2นาที เตียง 10 PT=2นาที เริ่มต้น รับ-ส่งเวรทีม 1 เตียง 1 PT=2นาที PT= 2 นาที จุดเริ่มต้น เริ่มต้น รับ-ส่งเวรทีม 2 เตียง 11 เตียง 14 PT=2นาที เตียง 19 PT=2 นาที PT=2นาที PT= 2 นาที Process time (PT) = เวลาที่ใช้ในกระบวนการ = 25 นาที = Delay time (DT ) = ระยะเวลาการรอคอย= 25 นาที Total turn around time (TAT) = รอบเวลาทั้งหมดใช้ในกระบวนการ (PT+DT) = 25 นาที ทั้ง 2 ทีม

6. Lean A3 Report

6.1 เหตุผลการทำ (Reason for Action) ปัญหา - รับ - ส่งเวรใช้เวลามาก ระยะเวลาที่ใช้ในการดูแลผู้ป่วย ช่วงเวลา 7-8 น. นาที จำนวนบุคลากร (คนที่)

6.2 เป้าหมาย (Target state): ความปลอดภัย ได้คุณภาพ รวดเร็ว และลดต้นทุน - ลดระยะเวลาในการรับ-ส่งเวร เหลือ 20-25 นาที - เจ้าหน้าที่มีคุณภาพชีวิตดีขึ้น (ลงเวรเร็วขึ้น) - เจ้าหน้าที่มีความพึงพอใจ > 70% 6.2 เป้าหมาย (Target state): ความปลอดภัย ได้คุณภาพ รวดเร็ว และลดต้นทุน

กระบวนการทำงาน อุปกรณ์ จำนวนบุคลากรหนาแน่นต่อการดูแล ผู้ป่วย 1 ราย 6.3 การวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา (Gap Analysis) คน อุปกรณ์ จำนวนบุคลากรหนาแน่นต่อการดูแล ผู้ป่วย 1 ราย Form ปรอทไม่ได้อยู่ที่ปลายเตียง บุคลากรรับ-ส่งเวรพร้อมกัน ลงเวรช้า (รับ-ส่งเวรนาน) เป็นเส้นทางผ่านของบุคลากรหน่วยอื่น ขั้นตอนการทำงานซ้ำ เป็นคอขวด ไม่ไหลลื่น พื้นที่แบ่งเป็นห้องๆ ละ4-5เตียง รวม 4 ห้อง ต้องใช้เวลาในการเดิน บุคลากรต้องดูผู้ป่วยซ้าๆกัน ทำเรื่องเดียวกันโดยไม่จำเป็น สิ่งแวดล้อม กระบวนการทำงาน

6.4 แนวทางในการแก้ไข (Solution Approach) สาเหตุ: Root cause addressed แนวทางไข: Proposed solution วัตถุประสงค์: Supports Objective กระบวนการทำงานซ้ำซ้อน: ต้องรอนานเนื่องจากไม่มีการแบ่งงานที่ ชัดเจนทำให้ต้องรอและทำงานซ้ำซ้อน กัน 1. Get rid excessive process: ปรับ Flow การทำงานแบ่งทีมให้ชัดเจน ทำให้งานไหลลื่นได้ดี 2. ลดMotion +Transportation เนื่องจากดูผู้ป่วยเพียงครึ่งหนึ่ง ลดระยะเวลาในการรับ- ส่งเวร  เจ้าหน้าที่มีความพึงพอใจ

6.5 การดำเนินการแก้ปัญหา (Solution Experiments) Actual Date By Result Conclusion Get rid excessive process ลดMotion -จัดแบ่งทีมการรับส่งเวร เป็น 2 ทีม -ลดความซ้ำซ้อนในการ รับส่งเวรเนื่องจากดู ผู้ป่วยครึ่งเดียว -ลดระยะเวลา -ลดความผิดพลาดเพราะ ปริมาณงาน/คนลดลง -เดิน Round ผู้ป่วยเพียง ครึ่งเดียว 27 ธ.ค.53 -หัวหน้าทีม ลดระยะเวลาการรับ- ส่งเวร(จาก50 นาที เป็น 25 นาที) ความพึงพอใจของ เจ้าหน้าที่เพิ่มจาก 75% เป็น 90 %

6.6 กิจกรรมสำคัญที่ทำ (Outstanding Actions) By Whom By Date - สรุปและแจ้งแนวทางการรับ-ส่งเวรโดยแบ่งเป็น 2 ทีม เจ้าหน้าที่ทุกคน 28 ธ.ค.53

ระยะเวลาที่ใช้ในการดูแลผู้ป่วย ช่วงเวลา 7-8 น. 6.7 ผลลัพธ์ รวมระยะเวลาเฉลี่ยรับส่งเวร = 25 นาที ความพึงพอใจของบุคลากร 90% ระยะเวลาที่ใช้ในการดูแลผู้ป่วย ช่วงเวลา 7-8 น. นาที จำนวนบุคลากร(คนที่)

6.8 สรุปบทเรียน (Lessons Learnt) ปัจจัยความสำเร็จ ปัญหา/อุปสรรค ภาวะผู้นำของทีม ความพร้อมเพียงของการรับ-ส่งเวร - ทุกคนมีเป้าหมายร่วมกัน บุคลากรบางคนมีความต้องการรับ-ส่งเวรทั้ง ward อย่างเดิม มีเหตุการณ์เฉพาะหน้าทำให้บางวัน การรับ-ส่งเวรใช้ เวลามาก ในการปฎิบัติงานพยาบาลยังไม่สามารถแบ่งทีมได้ ชัดเจน