งานสังคมสงเคราะห์ โรงพยาบาลศิริราช.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การดำเนินงานด้านอนามัยการเจริญพันธุ์
Advertisements

การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
กายภาพบำบัด ใน โรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพตำบล
โครงการพัฒนาโรงพยาบาลราชบุรี บริการฉับไว ไร้ความแออัด
สมรรถนะที่จำเป็นสำหรับผู้รับผิดชอบ การจัดการรายบุคคลในโรงพยาบาล (Case Manager และ Case Management Unit)
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
COP PMQA ศูนย์อนามัยที่ 10 เชียงใหม่.
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
แม่วัยรุ่น (Teenage Mothers) ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
แนวนโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
การบริการวิกฤตสุขภาพจิตและการปฏิบัติงานทีม MCATTและบทบาทหน้าที่
การดูแล ผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
คลินิกผู้สูงอายุ อดีต ปัจจุบัน อนาคต
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
เขต 15 เขต 15: เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แม่ฮ่องสอน.
สรุปการประชุม เขต 10.
น.พ. ศิริวัฒน์ ทิยพ์ธราดล
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
สรุปบทเรียนโครงการแก้ไขปัญหาทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด.
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
อย.น้อย : เริ่มต้น และความคาดหวัง รวบรวมโดย...กฤษณา แป้นงาม
สรุปผลการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อคุ้มครอง
โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์
การจัดบริการสุขภาพ ผู้สูงอายุไทย
ภายใต้โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 : โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา.
แนวทางการดำเนินงานผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ ปี 2556
เพิ่มภาพ แผนที่ตำบล หรือภาพกิจกรรมชมรมสูงอายุในพื้นที่
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
โรงพยาบาลเทพรัตน์นครราชสีมา
การชี้แจงตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านคุณภาพบริการ ร้อยละของอาเภอที่มีทีม miniMERT, MCATT, SRRT คุณภาพ ธีราภา ธานี พยาบาลวิชาชีพชำนาญ.
การพัฒนางานวิกฤตสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2558
กลไกโภชนาการสมวัย นโยบาย สื่อสารสาธารณะ HUB/ทีมภาค ชุมชน สื่อสาร
หลักเกณฑ์การประเมินกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
สกลนครโมเดล.
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
แนวทางการจัดทำแผน ยุทธศาสตร์ การพัฒนาบุคลากร สถาบัน ธัญญารักษ์ และศูนย์บำบัดรักษายาเสพติด ภูมิภาค 17 – 18 มกราคม 2549 ห้องประชุม 2 / 2 สถาบันธัญญารักษ์
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
SAR2011 ข้อ III 4.3 ฉ : การฟื้นฟูสภาพ
นวัตกรรม7สี ปันรัก ไกลโรค ปี2556
รายงานการประเมินตนเอง 4.3 ช. การดูแลผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
การพัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต
แผนที่ยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

งานสังคมสงเคราะห์ โรงพยาบาลศิริราช

หัวข้อการนำเสนอ วิสัยทัศน์ พันธกิจ ผลการดำเนินงานในรอบปีที่ผ่านมา แผนพัฒนางาน ตัวชี้วัด

วิสัยทัศน์ จะเป็นเครือข่ายการให้บริการสังคมสงเคราะห์ระดับประเทศ

หน้าที่และเป้าหมาย 1. ให้ความช่วยเหลือผู้ป่วยที่มีปัญหาด้านเศรษฐกิจ สังคม อารมณ์ และจิตใจ เพื่อให้ปัญหาคลี่คลาย 2. เยี่ยมบ้าน 2.1 ประเมิน สภาพครอบครัว และสภาพแวดล้อม 2.2 ประสาน และติดตาม ดูแลผู้ป่วย 2.3 ติดตามหาญาติผู้ป่วย 2.4 เตรียมความพร้อมสำหรับการจำหน่ายผู้ปวย 4

หน้าที่และเป้าหมาย (ต่อ) 3. ให้ความรู้ คำแนะนำ ในเรื่องต่างๆ 4. เข้าร่วมทีมสหวิชาชีพ ในการดูแลผู้ป่วย 5. ส่งเสริมให้ผู้ป่วยดำรงชีวิตอย่างมีคุณภาพ โดยประสานเครือข่ายทั้งของรัฐและเอกชน เพื่อให้เกิดการต่อเนื่องในการติดตามช่วยเหลือดูแลผู้ป่วย 5

ประเด็นคุณภาพ 1. สนับสนุนช่วยเหลือผู้ป่วยให้ได้รับการรักษาตามแผนการรักษาของแพทย์ 2. เชื่อมความสัมพันธ์ที่ดีในครอบครัว 3. ให้บริการด้วยความรวดเร็วทันเวลา 4. ผู้ป่วยได้รับความช่วยเหลืออย่างเหมาะสม 5. ผู้ป่วยได้รับการจำหน่ายได้ตามเวลาที่กำหนด 6

หน่วยสงเคราะห์และพัฒนาเครือข่าย โครงสร้างงาน ผู้อำนวยการโรงพยาบาล งานสังคมสงเคราะห์ หน่วยธุรการ หน่วยประเมิน หน่วยสงเคราะห์และพัฒนาเครือข่าย ประเมิน วางแผน การช่วยเหลือ เตรียมพร้อม การจำหน่าย ลดหย่อน ประสาน เครือข่าย กลุ่มวิชาการ

ผลการดำเนินงานในปีที่ผ่านมา

สถิติการช่วยเหลือ ปัญหาด้านอื่นๆ

จำนวนผู้ป่วยที่ขอรับการลดหย่อน (2549-2555) จำนวนผู้ป่วยที่ขอรับการลดหย่อน (2549-2555) ผลการดำเนินงานในรอบปีที่ผ่านมา

ค่ารักษาพยาบาลที่ให้การช่วยเหลือ

การดำเนินงานตามจุดเน้นฯ Patient Safety ( การระบุตัวบุคคล ) * ค้นหาหลักฐานผู้ป่วย - การคัดสำเนาบัตรประชาชน / ติดตามญาติ /ประสานองค์การบริหารส่วนตำบล - เทศบาล /สถานีอนามัยชุมชน หรือโรงพยาบาลชุมชน - เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถใช้สิทธิการรักษาได้ ปี 53 มี จำนวนผู้ป่วยค้นหาหลักฐาน 559 ราย

- มีคู่มือการปฏิบัติงาน 6 เรื่องที่ได้รับการขึ้นทะเบียน Area of Excellence - มีคู่มือการปฏิบัติงาน 6 เรื่องที่ได้รับการขึ้นทะเบียน - เป็นสถานที่ดูงานของหน่วยงานอื่นๆ และฝึกงาน ของนักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และ มหาวิทยาลัย หัวเฉียวทุกปี - มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภายในหน่วยงานทุกวันจันทร์ (AAR) - โครงการ งานวิจัยสู่งานประจำ - COP (ชุมชนนักปฏิบัติ เรื่อง ผู้ป่วยขาดหลักฐานเอกสารแสดงตน)

Effective Communication - ระบบการรายงานผู้ป่วย - ระบบติดต่อประสานงานกับหน่วยงานภายในและภายนอกเพื่อการช่วยเหลือผู้ป่วย - ทำงานร่วมกับทีม R.M. ของโรงพยาบาล และภาควิชา - ประชุมในหน่วยงาน เพื่อสื่อสารนโยบายของผู้บริหารสู่ผู้ปฏิบัติ

Health Promotion - บุคลากรได้รับการตรวจร่างกายและฉีดวัคซีนประจำปี 100% - บุคลากรได้รับการตรวจร่างกายและฉีดวัคซีนประจำปี 100% พบว่า มีค่า BMI สูง 7 คน เป็นโรคความดันโลหิตสูง 3 คน - จัดโครงการออกกำลังกาย ที่ fitness center สำหรับบุคลากรที่มี ค่า BMI สูง - ให้ความรู้บุคลากร เรื่อง หลักโภชนาการ - รณรงค์เรื่องการล้างมือ ก่อนขึ้น และลงจาก หอผู้ป่วย

Increasing customer satisfaction พัฒนางาน - ทำงานเชิงรุก - เพิ่มรอบการประเมินผู้ป่วยที่ห้องแพทย์เวร และ observe เป็นวันละ 2 รอบ เพื่อการจำหน่ายผู้ป่วยให้ทันเวลา - ทำงานเป็นทีมสหวิชาชีพเพื่อการดูแลผู้ป่วย - อยู่เวรนอกเวลาราชการ

การพัฒนา บุคลากร 1. ส่งบุคลากรเข้าอบรม ในหลักสูตรผู้ทำหน้าที่ นักสังคมสงเคราะห์ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา(การสืบพยานเด็ก) ของสถาบันการพัฒนาสังคม จังหวัดปทุมธานี 3 รุ่น 7 คน เริ่มปี 2553 2. ส่งอบรมเรื่องการให้คำปรึกษาในภาวะวิกฤตในบทบาทของนักสังคมสงเคราะห์ ที่มหาวิทยาลัย สุโขทัยธรรมาธิราช 3 คน 3. เข้าร่วมประชุมภายนอกหน่วยงาน โรงพยาบาลอื่นๆ หรือสมาคมนักสังคมสงเคราะห์ ปีละ 3 ครั้ง 4. จัดสัมมนาในหน่วยงาน เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ปีละ 1 ครั้ง

ระบบการทำงาน - สร้างเครือข่ายเพื่อช่วยการปฏิบัติงาน ได้แก่ อ.บ.ต อ.บ.จ เทศบาล NGO หน่วยงานของรัฐ - นักสังคมสงเคราะห์ เข้าร่วมทีมสหวิชาชีพ เพื่อการดูแลผู้ป่วยของภาควิชา ได้แก่ อายุรศาสตร์ ศัลยฯ ออร์โธปิดิกส์ จักษุ กุมาร สูติ-นรีเวช - การชี้นำสังคม จัด โครงการพัฒนาศักยภาพเยาวชนจิตอาสาเพื่อป้องกันอุบัติภัยบนท้องถนน พิษภัยของบุหรี่ เพศศึกษากับการป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร - จัดเก็บข้อมูล ผู้ป่วยด้วย E-File เพื่อลดพื้นที่การจัดเก็บเอกสาร

โครงการที่ยังดำเนินการอยู่ 1. โครงการแม่เยาว์วัย 2. โครงการพัฒนาศักยภาพเยาวชนจิตอาสา 3. การทำงานร่วมทีมสหวิชาชีพ 4. โครงการอบรมพี่เลี้ยงผู้พิการ 5. โครงการเตรียมความพร้อมค่าใช้จ่ายของผู้ป่วยก่อนผ่าตัด 6. โครงการเยี่ยมบ้านเยี่ยมใจ 7. โครงการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง

โครงการต่อยอด 1. จัดตั้ง COP เรื่องวิธีการช่วยผู้ป่วยขาดหลักฐานเอกสารแสดงตน 2. ทำ R2R - ผลของระบบการให้การช่วยเหลือแม่วัยเยาว์และการติดตามผลโดยทีมสหวิชาชีพ - เรื่องการศึกษาเปรียบเทียบขั้นตอนการเข้าถึงข้อมูลของผู้ป่วยที่ขาดเอกสาร

ตัวชี้วัดหลัก 1.ความพึงพอใจของผู้รับบริการ ประเด็นคุณภาพ เป้าหมาย ปี 2551 ปี 2552 ปี 2553 ปี 2554 1.ความพึงพอใจของผู้รับบริการ 1.1 ร้อยละของการขึ้นประเมินผู้ป่วยทุกวัน 1.2 ด้านความสะดวกรวดเร็วในการให้ความช่วยเหลือ 2. ความรวดเร็ว ร้อยละของผู้ป่วยแต่ละรายที่ประเมินได้ครบถ้วนภายใน 5 นาที 3. ความคุ้มค่า ร้อยละของผู้ป่วยที่ได้รับการระบุตัวโดยการค้นหาหลักฐานเอกสาร และสามารถใช้สิทธิการรักษาได้อย่างถูกต้อง 95% 90% 80% 80 % 86% -- 92.0% 86.5 % 96.3 % 93.6 % 82 % 84.1% 96.5 % 94.6% 85.3% 86.5%

ตัวชี้วัดหลัก 4. ผู้ป่วยได้รับการจำหน่ายได้ทันเวลาที่กำหนด ประเด็นคุณภาพ เป้าหมาย ปี 2551 ปี 2552 ปี 2553 ปี 2554 4. ผู้ป่วยได้รับการจำหน่ายได้ทันเวลาที่กำหนด 4.1 ร้อยละของผู้ป่วยที่ได้รับการจำหน่ายตามเวลา - ติดตามญาติ/เยี่ยมบ้าน - ส่งกลับบ้าน / ช่วยค่าพาหนะ - จัดหาที่อยู่อาศัย 4.2 ร้อยละของผู้ป่วยที่สามารถ ติดตามหาหลักฐาน เพื่อการ ใช้สิทธิ 80% 64.8 % 68.2% 84.6% 72.0% 86.4% 76.4% 88.7 % 81.5%

แผนที่จะพัฒนา ให้ความรู้ความเข้าใจแก่บุคลากร เรื่อง Lean และ R2R จัดเก็บตัวชี้วัดเรื่องความคุ้มค่าเพิ่ม -จำนวนเงินก่อนที่จะได้หลักฐานเพื่อการใช้สิทธิ

ความภาคภูมิใจ

ความสำเร็จในการติดตามญาติ ครอบครัวนายหาญ จ.เลย ครอบครัวนายสุรินทร์ จ.กาญจนบุรี

ออกกำลังกาย-เรียนรู้เรื่องโภชนาการ

สัมมนา เรื่อง KM ณ.ไร่กุสุมา จังหวัดสระบุรี เมื่อวันที่ 26-27 มีนาคม2554

สถานที่ดูงาน/สถานที่ฝึกงาน

ขอบคุณ และ สวัสดีค่ะ

COP เรื่องการดำเนินการกับผู้ป่วยไม่เอกสาร/หลักฐานแสดงตน

R2R ประชุมร่วมกับ อ.จ.อัครินทร์ ประมาณ 12 ครั้ง

วัตถุประสงค์ ศึกษาปัญหาของมารดาที่อายุต่ำกว่า 18 ปี ศึกษาปัญหาของมารดาที่อายุต่ำกว่า 18 ปี ลดปัญหาการละทิ้งบุตร ประสานคนในครอบครัวให้เกิดการยอมรับ ให้ความรู้และความเข้าใจแก่แม่เยาว์วัย -ในการวางแผนครอบครัว -ลดปัญหาการตั้งครรภ์ซ้ำ

ผลลัพธ์ ที เป้าหมาย ผลลัพธ์ ก่อน ดำเนินการ ผลลัพธ์ที่ปฏิบัติได้ ผลลัพธ์ที่ ผลลัพธ์ ปฏิบัติได้ ที่ปฏิบัติได้ ปี 51 ปี 52 ปี 53 ปี54 1. ร้อยละของมารดาที่ได้รับความรู้ในการวางแผนครอบครัวและไม่ตั้งครรภ์ซ้ำ 90% 30 % 65% 90.5 % 95 % 96.7% 2. ร้อยละของครอบครัวที่ยอมรับกับปัญหาการตั้งครรภ์ที่ไม่พร้อม 85% 0 % 55 % 75% 80% 85.8% 3. ร้อยละของทารกที่ส่งสถานสงเคราะห์ 10% 32% 7% 2% 0% 0%

วัตถุประสงค์ เพื่อประเมินสภาพครอบครัว และสิ่งแวดล้อม พร้อมให้กำลังใจ เพื่อติดตามหาญาติ เพื่อเตรียมความพร้อมใน การจำหน่าย

ผลลัพธ์ ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลลัพธ์ ก่อน ช่วงที่ 1 ช่วงที่ 2 ช่วงที่ 3 1. ร้อยละของผู้ป่วยที่สามารถใช้ข้อมูลจากการเยี่ยมบ้าน เพื่อการช่วยเหลือได้อย่างเหมาะสม 90% 60% 71.3% 83.2 % 95.5% 2. ร้อยละผู้ป่วยที่ติดตามญาติมารับกลับได้ 80% 50% 68.5% 75.0% 81.2%

วัตถุประสงค์ 1. เพื่อประเมิน และติดตามญาติได้เร็วขึ้น 1. เพื่อประเมิน และติดตามญาติได้เร็วขึ้น 2. เพื่อจำหน่ายผู้ป่วยออกได้ตามเวลาที่กำหนด 3. เพื่อตรวจสอบหาหลักฐานให้ผู้ป่วยได้ใช้สิทธิในการรักษา 4. เพื่อลดความแออัดของหน่วยตรวจ และหอผู้ป่วยสังเกตอาการ

ผลลัพธ์ ตัวชี้วัด (KPI) เป้าหมาย ผลลัพธ์ ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 1. ร้อยละของผู้ป่วยที่ได้รับการ จำหน่ายตามเวลา โดย 80% 64.8 % 82.2% 84.6% - ติดตามญาติ/เยี่ยมบ้าน - ส่งกลับบ้าน / ช่วยค่าพาหนะ - หาที่พัก - ช่วยค่ายา 2. ร้อยละของผู้ป่วยที่สามารถ ติดตามหาหลักฐาน เพื่อการ ใช้สิทธิ 68.2% 72.0% 76.4%

วัตถุประสงค์ 1.เพื่อสร้างจิตสำนึกในการเป็น ผู้ใช้รถใช้ถนนและเข้าใจระเบียบ วินัยการจราจร 2. เพื่อเรียนรู้เรื่องภัยอันตรายบน ท้องถนน การป้อง ตนเอง 3.เพื่อให้เกิดการเรียนรู้โทษภัย ของการสูบบุหรี่

โครงการพัฒนาศักยภาพเยาวชนเรื่องการป้องกันอุบัติภัยบนถ้องถนน ครั้งที่ 1 ครั้งที่2

โครงการพัฒนาศักยภาพเยาวชนเรื่องการป้องกันอุบัติภัยบนถ้องถนน ครั้งที่ 1 ครั้งที่2

ผลลัพธ์ ประเด็น รุ่นที่ 1 รุ่นที่ 2 96% 90% 99% 95% ผู้เข้ารับการอบรมเข้าใจใน ระเบียบวินัย และภัยอันตรายจากการจราจร สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ในชีวิตประจำวัน และเผยแพร่ต่อคนรอบข้าง 96% 90% 99% 95%

ทีม Palliative บทบาท ของนักสังคมสงเคราะห์ - เป็นผู้ติดต่อประสานเรือนจำพิเศษธนบุรี เพื่อให้มารดา และบุตรได้พบกัน ซึ่งเป็นความปรารถนาครั้งสุดท้ายของผู้ป่วย