Overview - Wikipedia Wikipedia คืออะไร? การใช้งาน Wikipedia

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
วิทยาลัยเทคโนโลยีการจัดการเพชรเกษม 3/22 หมู่ 4 เพชรเกษม 81 หนองแขม หนองแขม กรุงเทพฯ โทรศัพท์ โทรสาร คู่มือการใช้งาน ระบบลงทะเบียนขอจบการศึกษา.
Advertisements

Google+ เป็นชุมชนออนไลน์ ที่มีลักษณะเหมือนกับ
การอบรมการใช้ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา
บทที่ 6 การใช้สีสำหรับเว็บไซต์
วิชาหัวข้อเรื่องที่ทันสมัยทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ 6 มกราคม 2555
COE เว็บปรับแต่งสำหรับศูนย์วิจัยและพัฒนา ระบบสุขภาพชุมชน Creation of Custom-built Web of CRDCH Research Center นายสุรศักดิ์ แสงเพชร รหัสนักศึกษา.
Bai Chak Group ภูมิใจเสนอ.
การใช้ Microsoft Word 2007 / 2010 เพื่อการจัดการงานเอกสารเชิงวิชาการ
Education Research Complete
การใช้งานฐานข้อมูล Journal of Cosmetic Dermatology
วารสารออนไลน์ เฉพาะทางเกี่ยวกับโรคผิวหนัง
1 ข้อแนะนำในการสร้าง Web โครงการ โดย ดร. วรินทร์ สุวรรณวิสูตร อาจารย์ผู้ประสานงานวิชาโครงการ.
รายงานการวิจัย.
การค้นหาค่า Impact Factor ของวารสาร ในฐานข้อมูล ISI
1 ข้อแนะนำในการสร้าง Web โครงการ ดร. วรินทร์ สุวรรณวิสูตร ( ไม่ยืนยันว่าครบถ้วนตามหลักวิชาการ )
การประเมินคุณภาพสารสนเทศ
หน่วยงาน สำนักงานจัดการระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
การพัฒนาระบบสารสนเทศ และฐานข้อมูลด้านการวิจัย
พื้นฐานความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การจัดการเอกสารด้วยไลบรารี
ระบบข้อสอบออนไลน์.
Microsoft Word XP โดย พิสมัย น้ำจันทร์.
ระบบอัตโนมัติและการพิมพ์
WIKI PEDIA วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร.
วิกิ หรือ วิกี้ ลักษณะของเว็บไซต์แบบหนึ่งที่อนุญาต ให้ผู้ใช้ เพิ่มและแก้ไขเนื้อหาได้โดยง่าย ซึ่งบางครั้งไม่จำเป็นต้องการลงทะเบียน เพื่อแก้ไขวิกิจะแตกต่างจากระบบการจัดการเนื้อหาอื่นในส่วน.
The automated web application testing (AWAT) system
คู่มือการใช้ฐานข้อมูลออนไลน์ Science Online
วันที่ เมษายน 2553 ณ สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ตัวอย่างขั้นตอนในการสืบค้นข้อมูล
ตัวอย่างขั้นตอนการนำเสนอ คำสั่งแต่งตั้งบุคลากรทำหน้าที่ตามโครงการผ่านระบบ Swis เมื่อหน่วยงานจะดำเนินงานในโครงการ ในโครงการนั้นต้องการให้มีการแต่งตั้งบุคลากรเข้าไปปฏิบัติหน้าที่ในกิจกรรมตามโครงการเพื่อให้โครงการดำเนินการไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ.
ตัวอย่างขั้นตอนการนำเสนอ คำสั่งแต่งตั้งบุคลากรทำหน้าที่ตามโครงการผ่านระบบ Swis เมื่อหน่วยงานจะดำเนินงานในโครงการ ในโครงการนั้นต้องการให้มีการแต่งตั้งบุคลากรเข้าไปปฏิบัติหน้าที่ในกิจกรรมตามโครงการเพื่อให้โครงการดำเนินการไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ.
1. แจ้งหน่วยงานให้ทราบวิธีการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ครั้งที่ 1/2555
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
Data On Web 2552 ศูนย์ปฏิบัติการ สพฐ. ศูนย์ปฏิบัติการ สพฐ
หน่วยที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ระบบสืบค้นข่าว มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
E-Commerce Wigidol Shop
จากกระดานชนวนสู่กระดานอิเล็กทรอนิกส์
การทบทวนวรรณกรรมสำหรับนักวิจัย
SCIENCE DIRECT.
การแปลงข้อมูลใน Excel เป็นฐานข้อมูลใน Access
ในห้องเรียนออนไลน์ (Web-Based Instruction) บนระบบบริการ Moodle LMS
นักวิจัย กับ แนวทางการมีส่วนร่วมในการทำวิจัย
ฐานข้อมูล Science Direct
E-News For Modern Life งานบริการสารนิเทศ ฝ่ายบริการ ทรัพยากรสารนิเทศ สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การใช้งานระบบ TU Moodle
การเข้าใช้ Speexx ครั้งแรก Foundation English II
การเขียนเอกสารชี้แจงผู้เข้าร่วมการวิจัย (Participant Information Sheet) โดย นางนวี เอกศักดิ์ กรรมการจริยธรรมการวิจัยในคน มหาวิทยาลัยมหิดล (Layperson)
หน่วยที่ 7 จริยธรรมและความปลอดภัย
รายละเอียดโครงการโดยสังเขป หลักการและเหตุผล
คู่มือการใช้งานโปรแกรมระบบนัดพบตลาดงานเชิงคุณภาพ ประจำปีงบประมาณ 2557
กระบวนการวิจัย Process of Research
วิธีการสร้าง KM ในระบบ iSchool.
บทที่ 7 การศึกษาและ การนำเสนอสารสนเทศ
การสร้างพจนานุกรม.
เว็บเพจ (Web Page).
การประเมินความเป็นเว็บช่วยสอน (Evaluation of Web-Based Instructin)
สารานุกรมการศึกษา (The Encyclopedia of Education) ให้ความหมายไว้ว่า คือ “การจัดการสืบค้นอย่างมีระบบเกี่ยวกับการศึกษาและผลผลิตที่ได้รับจากการศึกษา”
ซอฟต์แวร์เพื่อสังคม (Social Software )
การสร้างสื่ออิเล็กทรอนิกส์ด้วยโปรแกรม CONTERT AUTHORING
เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาการใช้โปรแกรมกราฟิก
E-Portfolio.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
สื่อการสอนการเขียนเว็บเพจ ด้วยภาษา HTML
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Overview - Wikipedia Wikipedia คืออะไร? การใช้งาน Wikipedia

Wikipedia คืออะไร? Wikipedia คือ สารานุกรมเสรีออนไลน์ ซึ่งเป็นที่ให้ทุกๆ คนสามารถเข้าไปใช้แสวงหาความรู้, ให้ความรู้ และ แก้ไขความรู้ ให้กับผู้อื่นได้

ข้อดี-ข้อเสีย ของ Wikipedia เนื้อหาเปิดเสรีให้สามารถนำไปใช้ได้ เปิดเสรีที่ให้ทุกคนเขียน แก้ไขข้อมูล โดยทุกคนมีสิทธิเท่าเทียมกัน เผยแพร่สืบต่อกันได้อย่างเสรี นโยบายมุมมองที่เป็นกลางจากทุกฝ่ายที่เขียนในสารานุกรม ข้อเสีย การนำไปใช้อ้างอิงในเอกสารทางวิชาการยังเป็นข้อถกเถียงกันอยู่-วิกิพีเดียมีความถูกต้องมากน้อยแค่ไหน ไม่สามารถป้องกันผู้ประสงค์ร้ายเข้าไปทำลายข้อมูลหรือสิ่งดีๆ ลิขสิทธิ์และการอนุญาตให้ใช้เนื้อหาแบบเสรีในวิกิพีเดีย  ลิขสิทธิ์เสรี (copyleft – สามารถสำเนา, แก้ไขดัดแปลง, กระจายต่อได้) ข้อความ ภาพและเนื้อหาประเภทอื่นๆ ส่วนใหญ่ทั้งหมดในวิกิพีเดีย จะอยู่ภายใต้ลิขสิทธิ์GNU Free Documentation License หรือ GFDL หรือ GNU FDL (การอนุญาตให้ใช้เนื้อหาแบบเสรี) หัวข้อที่เป็นที่สนใจย่อมได้รับการตรวจสอบมากกว่าหัวข้อที่ไม่มีคนรู้จัก ไม่มีระบบตรวจสอบความถูกต้อง

ใครควรใช้ Wikipedia • ครู อาจารย์ ที่ทำงานด้านวิจัยต่างๆ • ศูนย์วิจัยต่างๆ • ผู้ที่ต้องการทำระบบสารานุกรมในหน่วยงาน เพื่อรวมข้อมูลต่างๆ ทำให้ ง่ายในการตรวจสืบค้น • ผู้ที่ต้องการทำคู่มือการใช้งานโปรแกรม • ผู้สนใจอยากศึกษาเกี่ยวกับเทคโนโลยี Wikipedia

การใช้งาน Wikipedia • การสร้างบัญชีผู้ใช้ ศึกษา หาความรู้ในบทความเรื่องต่าง ๆ การสร้างบทความใหม่ การแก้ไขบทความ อื่น ๆ การโหวตบทความคัดสรร การตรวจสอบ และเพิ่มคุณภาพของเนื้อหา

การสร้างบัญชีผู้ใช้ใหม่ (การใช้งาน) 1 2 3 ข้อดีของการสร้างบัญชีผู้ใช้ ได้รับ “หน้าผู้ใช้” ของตนเอง สามารถใส่ Profile ของตนเองได้ ได้รับ “หน้าพูดคุยส่วนตัว” เพื่อใช้สำหรับติดต่อกับชาววิกิพีเดียคนอื่น จะได้รับความเชื่อถือมากว่าไม่มีบัญชี ผู้อื่นจะสามารถทราบ และจำชื่อของคุณในการแก้ไข หรือสร้างบทความได้ มีสิทธิได้รับการเสนอชื่อเป็น “ผู้ดูแลระบบ” ฯลฯ

การศึกษา หาความรู้ในบทความเรื่องต่าง ๆ (การใช้งาน) ศึกษาบทความจากหมวดหมู่ต่าง ๆ ที่วิกิพีเดียได้จัดเตรียมไว้แล้ว บทความคัดสรรเดือนนี้ เรื่องจากข่าว วันนี้ในอดีต รู้ไหมว่า… สารานุกรม ศึกษาจากเมนู เช่น เหตุการณ์ปัจจุบัน ปรับปรุงล่าสุด สุ่มบทความ หน้าพิเศษ บทความทั้งหมด

การสร้างบทความใหม่ (การใช้งาน) สร้างต่อจากบทความเดิม เลือกคลิกคำศัพท์สีแดงภายในบทความเดิม … หมายถึงเรื่องที่ยังไม่มีผู้เขียนบทความที่เกี่ยวข้อง วิกิพีเดียจะเปิดหน้า “แก้ไข” ให้สร้างบทความที่เกี่ยวข้องได้ทันที 1 2

การสร้างบทความใหม่ (ต่อ) (การใช้งาน) พิมพ์ชื่อที่ต้องการ หลังจากชื่อเว็บใน ช่อง URL ด้านบน http://th.wikipedia.org/wiki/ชื่อบทความที่ต้องการ และเลือก edit/แก้ไข เพื่อเขียนบทความนั้น 1 2

การสร้างบทความใหม่ (ต่อ) (การใช้งาน) สร้างบทความใหม่จากกรอบคำสั่งในหน้าเว็บไซต์ Wikipedia 2 1 พิมพ์หัวข้อของบทความที่ต้องการสร้าง … จากนั้นคลิกที่ปุ่ม “สร้างบทความ” …จะปรากฎหน้า “แก้ไข” สำหรับสร้างบทความหากยังไม่มีหัวข้อนั้นมาก่อน

การแก้ไขบทความ (การใช้งาน) วิธีแก้ไขบทความ 1 คลิกปุ่ม “แก้ไข” ในบทความที่ต้องการแก้ไข 2 พื้นที่สำหรับแก้ไขบทความ

การแก้ไขบทความ (ต่อ) (การใช้งาน) วิธีแก้ไขขั้นพื้นฐาน, การใช้สัญลักษณ์สำหรับการแก้ไข

การแก้ไขบทความ (ต่อ) (การใช้งาน) กระบะทราย - พื้นที่ทดลองแก้ไข หากยังไม่มั่นใจสามารถทดลองแก้ไขได้ที่หน้า “กระบะทราย” … การแก้ไขที่หน้ากระบะทรายจะไม่คงอยู่ตลอดไป

อื่น ๆ (การใช้งาน) นอกจากนี้ยังมีงานอีกมากมายในวิกิพีเดียที่รอให้ทุกคนเข้ามาช่วยกันทำให้บทความมีความสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น การโหวตบทความคัดสรร : จะมีการช่วยกันเลือกบทความคัดสรรเดือนละ 1 บทความ การตรวจสอบ และเพิ่มคุณภาพของเนื้อหา เช่น - การเชื่อมโยงบทความ - การจัดหมวดหมู่ - การตรวจสอบภาษา - การตรวจสอบความถูกต้อง - การช่วยแจ้งลบสื่อที่ไม่ได้ใช้ในวิกิพีเดีย - การช่วยโฆษณา และประชาสัมพันธ์