โครงการ “เวทีพบปะ HR ระดับต้น”

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การแก้ปัญหานักเรียนที่ไม่จบหลักสูตร งานวัดผล โรงเรียนสุราษฎร์ธานี
Advertisements

โครงการพัฒนาคุณภาพงาน ประจำปี พ. ศ
โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กลุ่มเครือข่ายแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิชาชีพ: กิจการต่างประเทศ
พัฒนาคุณภาพงานและจดทะเบียนตั้งกลุ่ม รุ่นที่ 1 – 6 (ปีที่ 2)
ประเภท โครงการต่อยอด/ขยายผลโครงการเดิม(A)
สำนักบริหารงานวิรัชกิจ
โครงการเพิ่มช่องทางการรับชำระเงินค่าหอพัก
การบริหารจัดการเพื่อ พัฒนาผลการปฏิบัติงาน
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานการวิจัย.
โครงการฝึกอบรม การบริหารทรัพยากรบุคคล เชิงยุทธศาสตร์การพัฒนา จังหวัดอุดรธานี วันที่ ๑๙ มีนาคม ๒๕๕๖ ณ โรงแรมต้นคูณ อำเภอเมืองอุดรธานี
KM Learning Power ครั้งที่ 1
โครงการ “การจ่ายค่าตอบแทนวิทยากร ในรายการเปิดประตูสู่มหาวิทยาลัย”
สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สรรคุณค่าวิชาการ สู่สังคม
โครงการพัฒนา (Cross Function) กลุ่ม Tsunami2.
โครงการพัฒนาคุณภาพระบบงาน
โครงการพัฒนาคุณภาพงาน รุ่นที่ รุ่นที่ 11 – 14
ฝ่ายกิจการคณะวุฒยาจารย์ สำนักงานสภามหาวิทยาลัย
สรุปผลงานโครงการพัฒนาคุณภาพงาน ประจำปี พ. ศ
ถุงเงิน ถุงทอง.
การนำเสนอโครงการพัฒนาคุณภาพงาน ในฝ่ายการพัสดุ
หน่วยงาน สำนักงานจัดการระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
สรุปผลงานโครงการพัฒนาคุณภาพงานประจำปี พ.ศ. 2554
ชื่อโครงการ : เพิ่มประสิทธิภาพงานสวัสดิการ
ชื่อกลุ่ม งานเสร็จไว สบายใจลูกค้า
โครงการกระบวนการจัดทำสัญญาเพื่อให้ผู้เช่าลงนาม ให้แล้วเสร็จ
โครงการ ถาม-ตอบอัจฉริยะ
ชื่อกลุ่ม กลุ่ม 10 ดวงใจแห่งความสำเร็จ
โครงการ : ลดระยะเวลาเลื่อนขั้นเงินเดือนประจำปี
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ
การวางแผนและการดำเนินงาน
หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผล การปฏิบัติราชการข้าราชการและ พนักงานราชการกรมควบคุมโรคประจำปีงบประมาณ 2557.
ประชุมคณะทำงานพัฒนาระบบราชการ ของ สปท. ครั้งที่ 2/55
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
คุณภาพการประเมินนักเรียนและสถานศึกษา เพื่อรับรางวัลพระราชทาน
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
แบบประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการปฏิบัติงานของบุคลากรสภากาชาดไทย
หมวด7 15 คำถาม.
1 ก.พ.2550 ห้องประชุมดาวเรือง
2 ผลการดำเนินงาน รอบ 9 เดือน ตัวชี้วัด / ข้อมูลพื้นฐาน ประกอบ ตัวชี้วัด น้ำหนั ก ( ร้อย ละ ) ผลการ ดำเนินงา น ค่า คะแนน ที่ได้ ค่า คะแนน ถ่วง น้ำหนัก.
แนวทางการจัดทำมาตรฐานความโปร่งใสของกรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2557
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อ
ผู้รับผิดชอบ : สำนักงาน ก.ก.
สรุปการประเมินกระบวนการทำงานส่งเสริมสุขภาพ เรื่อง แผนบูรณาการในภาพรวม
1 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ กลุ่มที่ 5. 2 สมาชิกกลุ่ม 18.
การลดขั้นตอนและระยะเวลาการปฏิบัติราชการ และการพิจารณาให้รางวัลคุณภาพ
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนลักษณะสำคัญขององค์กร :
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนรายงานหมวดที่ 7 : ผลลัพธ์การดำเนินการ.
การเขียนรายงานผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
ปัจจัยแห่ง ความสำเร็จ ประสบการณ์ จริง แหล่งข้อมูล ประกอบด้วย 3 ส่วน.
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการดำเนินการ มาตรการประหยัดพลังงาน
ผลการ ดำเนินงาน โดย : อรุณี เจริญ ศักดิ์ศิริ. มติ คชก. 14 พย. 50 กรมการค้า ภายใน กรมบัญชีกลาง แจ้งให้ทำ 20 พย. 50 ขอเบิกเงิน 8 มค.51 โอนเงินให้ 17 มค.51.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุทัยธานี ปี 2556
ตามยุทธศาสตร์การพัฒนายกระดับผลสัมฤทธิ์
พวกเรามีความเห็นว่า เป็นอย่างไร ?.
แล การ นิ เทศงานและการ แก้ ไขปัญหา ในงานสหกิจศึกษา การ นิ เทศงานและการ แก้ ไขปัญหา ในงานสหกิจศึกษา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อัจฉราพร โชติพฤกษ์ ผู้อำนวยการกลุ่มงานมาตรฐานและบริการการศึกษา.
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
เอกสารประกอบการประชุมคณะทำงานเพื่อจัดทำ ตัวชี้วัดและระบบการบริหาร ผลการ ปฏิบัติราชการ ของสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อ เกษตรกรรม สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม.
หลักเกณฑ์การประเมินกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
แนวทางการพัฒนาเพื่อธำรงบันไดขั้นที่ 2 สู่ HAการสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) พฤศจิกายน 2557.
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
ตัวชี้วัดคุณภาพการให้บริการประชาชน
1. การ ดำเนินตามระเบียบงานสาร บรรณที่เกี่ยวข้อง 2. ความสามารถ ดำเนินการด้านสาร บรรณตามเวลาที่กำหนด 3. มีระบบ ป้องกันการสูญหายของ เอกสาร 4. การเผยแพร่ขั้นตอนในการ.
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
รายงานผลการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย อาจารย์จิตรสนา พรมสุทธิ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
1. เพื่อเสริมสร้างเจตคติในการส่งงานของ นักศึกษาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ห้อง คธ ส่งเสริมนักศึกษาให้เป็นผู้ตรงต่อเวลาใน การทำงาน 3. เพื่อศึกษาสาเหตุของการไม่ส่งงาน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการ “เวทีพบปะ HR ระดับต้น” โครงการพัฒนา คุณภาพงาน โครงการ “เวทีพบปะ HR ระดับต้น” งานบุคคลพนักงานมหาวิทยาลัย

ที่มาของโครงการ “เวทีพบปะ HR ระดับต้น” โครงการพัฒนา คุณภาพงาน ปัญหา ความคลาดเคลื่อน ในการตีความ การสื่อสารที่ไม่ตรงกัน ผลสำรวจความพึงพอใจ 2

เป้าหมายและตัวชี้วัด ของโครงการฯ โครงการพัฒนา คุณภาพงาน ร้อยละของจำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ มากกว่าร้อยละ 80 ระดับความพึงพอใจต่อโครงการของผู้เข้าร่วมโครงการ ค่าเฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 ค่าคะแนนเฉลี่ยความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องของผู้เข้าร่วมโครงการ ไม่น้อยกว่า 8.00 ร้อยละของจำนวนคำถามที่สอบถามหลังการเข้าร่วมโครงการ เกี่ยวกับเรื่องที่ได้จัดโครงการไปแล้ว น้อยกว่าร้อยละ 30

สรุปผลการวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา ปฏิบัติงานต่างจากแนวทางที่กำหนด ผู้ปฏิบัติงาน เอกสาร ไม่ทราบความสำคัญ ไม่ถามผู้รู้ ไม่ทราบ หลักปฏิบัติ ตีความ คลาดเคลื่อน ไม่มีคนสอน เนื้อหา ไม่ชัดเจน รับ-ส่ง ล่าช้า ผู้ส่ง มีภารกิจมาก ไม่เข้าใจ ปฏิบัติงานต่างจากแนวทางที่กำหนด เขียนไม่กระจ่าง ไม่ศึกษาเพิ่มเติม ผู้ตอบติดภารกิจอื่น ไม่มีคนตอบ สอบถามผิดคน เข้าใจไม่ถูกต้อง ไม่ตรงกัน ไม่ทราบ ผู้รับผิดชอบ อธิบายไม่ชัดเจน การสื่อสาร

สรุปผลการวิเคราะห์สาเหตุ โครงการพัฒนา คุณภาพงาน การโทรศัพท์มาสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม ยังไม่เพียงพอที่จะสามารถ สร้างความเข้าใจได้อย่างชัดเจน เนื่องจากในการปฏิบัติงานบางขั้นตอน ต้องมีการเชื่อมโยงกับเรื่องอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องด้วย

สรุปผลการวิเคราะห์สาเหตุ โครงการพัฒนา คุณภาพงาน การมาพบปะพูดคุยระหว่างเจ้าหน้าที่บุคคลส่วนกลางและเจ้าหน้าที่บุคคลของส่วนงาน/หน่วยงานต่างๆ จึงเป็นวิธีที่ดีกว่าในการร่วมกันปรึกษาเพื่อสร้างความเข้าใจในการปฏิบัติงานที่ถูกต้องและ ชัดเจนขึ้น 6

โครงการพัฒนา คุณภาพงาน กำหนดจัดโครงการฯ โครงการพัฒนา คุณภาพงาน

โครงการพัฒนา คุณภาพงาน ภาพโครงการฯ โครงการพัฒนา คุณภาพงาน

สรุปการแก้ไขปรับปรุง ที่ได้ดำเนินการ โครงการพัฒนา คุณภาพงาน 1 เจ้าหน้าที่บุคคลของส่วนงาน/หน่วยงานต่างๆ มีความเข้าใจที่ถูกต้องในการปฏิบัติงานตามระเบียบประกาศ และบันทึกแจ้งเวียนต่างๆ ที่เกี่ยวกับพนักงานมหาวิทยาลัย 2 เจ้าหน้าที่บุคคลมีโอกาสได้แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และเรียนรู้ร่วมกันเกี่ยวกับแนวทางในการปฏิบัติงาน 9

สรุปการแก้ไขปรับปรุง ที่ได้ดำเนินการ โครงการพัฒนา คุณภาพงาน 3 “โครงการจัดประชุมซักซ้อมความเข้าใจในข้อบังคับ กฎระเบียบและหนังสือเวียนที่เกี่ยวข้องกับการบริหารงานบุคคลพนักงานมหาวิทยาลัย” เพื่อให้เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานด้านบริหารบุคคลของ“งานบุคคลพนักงานมหาวิทยาลัย”สามารถตอบคำถาม ให้คำแนะนำและสื่อสารกับเจ้าหน้าที่ของส่วนงานต่างๆ ให้นำไปปฏิบัติได้อย่างถูกต้องและตรงกัน 10

ร้อยละของจำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ ผลลัพธ์การดำเนินการ โครงการพัฒนา คุณภาพงาน ร้อยละของจำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ เป้าหมาย มากกว่าร้อยละ 80 รายชื่อที่ตอบรับ 50 คน ผู้เข้าร่วม 58 คน ร้อยละ 116

ผลลัพธ์การดำเนินการ เป้าหมาย ส่งแบบประเมิน 54 คน มีความสมบูรณ์ 51 ชุด โครงการพัฒนา คุณภาพงาน ระดับความพึงพอใจต่อโครงการของผู้เข้าร่วมโครงการ เป้าหมาย ค่าเฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.50 ส่งแบบประเมิน 54 คน มีความสมบูรณ์ 51 ชุด ค่าเฉลี่ย 3.92

ค่าคะแนนเฉลี่ยความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องของผู้เข้าร่วมโครงการ ผลลัพธ์การดำเนินการ โครงการพัฒนา คุณภาพงาน ค่าคะแนนเฉลี่ยความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องของผู้เข้าร่วมโครงการ เป้าหมาย ไม่น้อยกว่า 8.00 Pre-test 6.69 Post-test 8.17 ค่าคะแนนเฉลี่ย 8.17

ผลลัพธ์การดำเนินการ เป้าหมาย คำถามที่สอบถามหลังโครงการฯ 15 คำถาม โครงการพัฒนา คุณภาพงาน ร้อยละของจำนวนคำถามที่สอบถามหลังการเข้าร่วมโครงการ เกี่ยวกับเรื่องที่ได้จัดโครงการไปแล้ว เป้าหมาย น้อยกว่าร้อยละ 30 คำถามที่สอบถามหลังโครงการฯ 15 คำถาม คำถามที่ซ้ำ 2 คำถาม ร้อยละ 13.33