โครงการพัฒนา (Cross Function) กลุ่ม Tsunami2.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เข้าสู่เว็บไซต์ ระบบการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วยอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Government Procurement : e-GP) ระยะที่ 2 เข้าสู่เว็บไซต์
Advertisements

มารู้จัก e-GP กันเถอะ.
ภารกิจกำกับดูแลและตรวจสอบภาษี
การเสนอขออนุมัติโครงการ
หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติการยืมเงินทดรองจ่ายเงินรายได้
ชื่อโครงการ : เพิ่มประสิทธิภาพงานซ่อมบำรุง
ชื่อกลุ่ม เติมใจให้กัน
โครงการ พัฒนาการจัดเก็บและค้นหาเอกสาร ส่วนบริหารกิจการจัตุรัสจามจุรี
โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กลุ่มเครือข่ายแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิชาชีพ: กิจการต่างประเทศ
พัฒนาคุณภาพงานและจดทะเบียนตั้งกลุ่ม รุ่นที่ 1 – 6 (ปีที่ 2)
ประเภท โครงการต่อยอด/ขยายผลโครงการเดิม(A)
สำนักบริหารงานวิรัชกิจ
การนำส่งภาษีผ่านระบบอินเทอร์เน็ต
โครงการเพิ่มช่องทางการรับชำระเงินค่าหอพัก
โครงการ ขอเอกสารสำคัญได้ภายใน 1 วัน
บทที่ 1 ลักษณะของระบบบัญชี
การเช่ารถยนต์ใช้ในงานราชการ
การบริหารงบค่าเสื่อม 2557
งานกลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาการบริหารการ จัดการฯ ผลงาน ณ เดือน เมษายน 2551.
ประจำเดือนกุมภาพันธ์ ๕๕
แผนปฏิบัติการ ปีงบประมาณ พ.ศ นำไปสู่การปฏิบัติ
ผลงานประเมินเข้าสู่ตำแหน่งนักวิชาการเงินและบัญชีชำนาญการพิเศษ
สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สรรคุณค่าวิชาการ สู่สังคม
โครงการเพิ่มความคล่องตัวในการนำเข้า และกำกับ KPI สำนักงานของผู้บริหาร
ศูนย์หนังสือแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แผนกธุรการจัดซื้อ -จัดจ้าง
โครงการพัฒนาคุณภาพระบบงาน
โครงการพัฒนาคุณภาพงาน
ถุงเงิน ถุงทอง.
“ การเพิ่มประสิทธิภาพการตั้งงบประมาณ หมวดค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้าง ”
เครือข่ายวิชาชีพห้องสมุด
ชื่อกลุ่ม งานเสร็จไว สบายใจลูกค้า
โครงการกระบวนการจัดทำสัญญาเพื่อให้ผู้เช่าลงนาม ให้แล้วเสร็จ
ประเภทโครงการ Cross Function/Lean เครือข่ายวิชาชีพ ทีมบริหารสินค้าต่างประเทศ ทีมบัญชีเจ้าหนี้ต่างประเทศ ทีมขายสาขา ม.นเรศวร ทีมขายสาขา มทส.
การบริหารการจัดการพื้นที่จอดรถจราจรในตลาดสามย่าน
โครงการพัฒนาคุณภาพงานด้วยแนวคิด Lean
การจัดเก็บข้อมูลตามตัวบ่งชี้ สกอ. และ สมศ.
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
สถานการณ์ด้านการเงินการคลัง
วิเคราะห์จากข้อมูลหรือรายงานทางการเงิน
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
การเร่งรัดการใช้จ่ายเงินงบประมาณปี 2556 ณ วันที่ 4 มิ.ย. 2556
การประชุมคณะกรรมการพัฒนาตัวบ่งชี้เพื่อการ
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดอ่างทอง ผลการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2555
ขั้นตอนการดําเนินงานของกองคลังที่เกี่ยวข้องกับ หน่วยงานอื่น
การขอให้จัดหาครุภัณฑ์ / จัดจ้าง
แนวทางการดำเนินงานโครงการสำคัญ ปีงบประมาณพ.ศ.2554 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
หัวข้อ 3.1 ความรู้เกี่ยวกับลูกค้าและตลาด
ตัวอย่างการประเมินฯ ของกรมสารขัณฑ์
รายงานสถานภาพงบประมาณ
งานข้อมูลข่าวสารฝ่ายบริหารทั่วไป โรงพยาบาลเชียงรายประชา นุเคราะห์ 1.
ความคิดเห็นของข้าราชการเกี่ยวกับ สวัสดิการการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2546
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
การปรับปรุงกรอบการประเมิน กองบัญชี สำนักการคลัง
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ
คือ ระบบบัญชีคอมพิวเตอร์
เภสัชกร 7 กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดหนองคาย
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหาร
ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ
การเบิกจ่ายเงินรางวัล ประจำปีงบประมาณ 2555
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
1 การบริหารจัดการ เงินงบประมาณ และเงิน SP 2. 2 งบประมาณปี 2553 รายการจำนวนเงิน ( ล้าน บาท ) % งบบุคลากร 167, งบดำเนินงาน 8, งบลงทุน.
แนวทางการเปิดเผยข้อมูลรายละเอียดค่าใช้จ่าย เกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างราคากลาง และการคำนวณราคากลาง ของ ป.ป.ช.
สรุปประเด็นข้อตรวจพบ
การเร่งรัดติดตามการใช้จ่ายเงิน
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
Progress Report 2548 Financial Report Link to Progress Report 2550 Capacity Building 2551 Estimates Report Link to Excel Loader KPI Strategy.
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการคลังท้องถิ่น จังหวัดนครราชสีมา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการพัฒนา (Cross Function) กลุ่ม Tsunami2

โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดซื้อจนถึงการเบิกจ่ายเงิน ของสำนักงานจัดการทรัพย์สิน ประกอบด้วย ฝ่ายบัญชีและการเงิน ส่วนการพัสดุ ส่วนสัญญาและคดีพิเศษ ส่วนเทคโนโลยีสารสนเทศ

ที่มา/มูลเหตุจูงใจของโครงการ สำนักงานจัดการทรัพย์สิน มีหน้าที่รับผิดชอบในการบริหารจัดการพื้นที่เขตพาณิชย์ อันประกอบไปด้วยพื้นที่สยามสแควร์ พื้นที่สวนหลวงสามย่าน พื้นที่ตลาดสามย่าน พื้นที่จัตุรัสจามจุรี พื้นที่สยามกิตติ์ ซึ่งเป็นพื้นที่ต้องให้บริการแก่ผู้เช่าและลูกค้าผู้มาใช้บริการให้เกิดความพึงพอใจในการใช้บริการ ดังนั้นการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพและแก้ไขปัญหาอย่างรวดเร็วเพื่อแข่งขันกับเอกชนในธุรกิจเดียวกันถือเป็นยุทธศาสตร์ที่สำคัญของสำนักงานจัดการทรัพย์สินการดำเนินงานของการจัดซื้อเพื่อแก้ไขปัญหาจึงอาจทำให้ขาดขั้นตอนและวิธีการที่ครบถ้วนสมบูรณ์ การจัดซื้อจนถึงการเบิกจ่ายเงินของสำนักงานจัดการทรัพย์สิน (วงเงินเกิน 100,000 บาท แต่ไม่เกิน 2,000,000 บาท) มีหลายหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และเกิดปัญหาในขั้นตอนการจัดซื้อระหว่างหน่วยงาน จากการดำเนินงานที่ผ่านมาส่วนใหญ่เกิดความล่าช้าในการจัดซื้อจนถึงการเบิกจ่ายเงิน ทำให้เกิดข้อร้องเรียนและความไม่พึงพอใจของผู้รับบริการ จากการเก็บข้อมูลในช่วงระยะเวลา ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 53 ถึง 1 สิงหาคม 54 จำนวนการซื้อทั้งหมด 13 เรื่อง พบปัญหาในกรณีต่าง ๆ จำนวน 4 เรื่อง ดังนี้ 1. จัดซื้อไม่ทันตามเวลาที่ต้องการ 2. จัดซื้อไม่เป็นไปตามแผนการใช้งบประมาณ 3. ผู้ขายได้รับเงินล่าช้า 4. ดำเนินการจัดซื้อไปก่อนการจัดทำเอกสาร

VSM (ก่อนทำ Lean)

กระบวนการที่นำมาพัฒนา (VSM)

สรุปผลการวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา

เป้าหมายและตัวชี้วัด 1. เพื่อจัดซื้อให้ทันตามเวลาที่ต้องการ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 90 2. เพื่อให้การจัดซื้อเป็นไปตามแผนงบประมาณ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 90 3. เพื่อลดระยะเวลาการจัดซื้อจนถึงการเบิกจ่าย ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 20 4. เพื่อสร้างความพึงพอใจของผู้รับบริการ (ได้แก่ ผู้ขาย/ผู้บริหาร/พนักงาน) ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 85

สรุปการแก้ไขปรับปรุงที่ได้ดำเนินการ ลดขั้นตอนกระบวนการจัดซื้อ จาก 126 ขั้นตอน เหลือ 90 ขั้นตอน ลดลงร้อยละ 29 2. จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการจัดซื้อ 3. ปรับปรุงคู่มือการจัดซื้อในระบบ Oracle ให้เข้าใจ วิธีปฏิบัติง่ายขึ้นและทำขึ้นระบบ intranet ใน Website ของสำนักงาน

VSM จัดซื้อ (หลังทำ Lean)

ผลลัพธ์ของการพัฒนา ผลลัพธ์ตามตัวชี้วัดที่กำหนดไว้ (ข้อมูลเปรียบเทียบรายเดือน หรือ ก่อนและหลังการปรับปรุง)  1. การจัดซื้อให้ทันตามเวลาที่ต้องการ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 90 - ผลลัพธ์ที่ได้ ร้อยละ 100 (เก็บข้อมูล ตั้งแต่ 1 ส.ค. 54 ถึงวันที่ 31 ธ.ค. 54 หลังจากเริ่มดำเนินการตามระบบมาตรฐาน) 2. การจัดซื้อเป็นไปตามแผนงบประมาณ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 90 - ผลลัพธ์ที่ได้ ร้อยละ 90 (งบประมาณปี 2554) - ผลลัพธ์ที่ได้ ร้อยละ 20 (งบประมาณปี 2555 ตั้งแต่ 1 ต.ค. 54 ถึงวันที่ 31 ธ.ค. 54) 3. การลดระยะเวลาการจัดซื้อจนถึงการเบิกจ่าย ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 20 - ผลลัพธ์คือ ลดระยะเวลาได้ร้อยละ 65.96 4. การสร้างความพึงพอใจของผู้รับบริการ (ได้แก่ ผู้ขาย/ผู้บริหาร/พนักงาน) ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 85

สรุปการปรับเปลี่ยนขั้นตอน ขั้นตอนเดิม 126 ขั้นตอน ขั้นตอนใหม่ 83 ขั้นตอน นับตั้งแต่ได้รับเรื่อง 90 ขั้นตอน นับตั้งแต่ต้นเรื่อง

สรุปการลดระยะเวลา นับตั้งแต่ได้รับเรื่อง รวมระยะเวลา (ขั้นตอนเดิม) P/T = 1 เดือน 11 วัน 3 ชั่วโมง 57 นาที D/T = 8 เดือน 12 วัน 4 ชั่วโมง 46 นาที รวมระยะเวลา (ขั้นตอนใหม่) P/T = 1 เดือน 16 วัน 3 ชั่วโมง 53 นาที D/T = 6 เดือน 14 วัน 4 ชั่วโมง VSM ขั้นตอนที่ 8 ถึง ขั้นตอนที่ 90

สรุปการลดระยะเวลา นับตั้งแต่ต้นเรื่อง รวมระยะเวลา (ขั้นตอนเดิม) P/T = 1 เดือน 11 วัน 3 ชั่วโมง 57 นาที D/T = 8 เดือน 12 วัน 4 ชั่วโมง 46 นาที รวมระยะเวลา (ขั้นตอนใหม่) P/T = 1 เดือน 17 วัน 24 ชั่วโมง 24 นาที D/T = 6 เดือน 8 วัน 6 ชั่วโมง VSM ขั้นตอนที่ 1 ถึง ขั้นตอนที่ 90