การศึกษาต่อในประเทศจีน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เศรษฐกิจของประเทศไทย
Advertisements

ประเทศไทยได้ประโยชน์และเสียประโยชน์อะไรจาก (AFTA)
ASEAN : Laos น.ส. ปรัฐษฎา บุญมา รหัส หมู่ 30 คณะ อก.
ฟิลิปปินส์(Philippines)
ประเทศอาเซียน ประเทศพม่า.
ประเทศจีนในทรรศนะของผู้ประกอบการ
ประชุมแสดงความคิดเห็น การจัดทำผังแม่บททางกายภาพ
รอบรู้อาเซียน.
อารยธรรมลุ่มน้ำสินธุ
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
~ ฉงชิ่ง~ เด็กชายมานพ ตั้งเจริญ ป. 6/1.
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
อารยลุ่มธรรมแม่น้ำสินธุ
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
๓ อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
รสชาติอาหารจีน 4 ตระกูล อาหารเสฉวน (川菜-ชวนไช่)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
Choranont Anupongpath
ระบบการตลาดและ หน้าที่ทางการตลาด
ตำแหน่งที่ตั้งของบ้านเมืองฟูนัน
ระบบนิเวศ (ECOSYSTEM)
แผนที่เพื่อการศึกษา ข้อมูลทางภูมิศาสตร์
: หัวข้อและความสำคัญของปัญหา
: หัวข้อและประเด็นปัญหา
บทที่ 2 สภาพแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อการค้าระหว่างประเทศ
ภาษาทางสื่อ มิวสิควิดีโอ
บรรยายองค์ความรู้เรื่อง AEC สมาคมอาเซียน
บทที่ 5 นโยบายต่างประเทศ
“ห้องสมุดมหาวิทยาลัยส่วนภูมิภาคกับการรวบรวม จัดเก็บและให้บริการทรัพยากรสารสนเทศเฉพาะทางด้านอาเซียนศึกษา” รศ.ดร. ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ วิทยาลัยนานาชาติปรีดี
จัดทำโดย ด.ญ.ธนาภรณ์ ตุ้มวิจิตร กลุ่มที่ 15 เลขที่ 18
รายงานประเทศอาเซียน จัดทำโดย ด.ญ. ศิโรรัตน์ ราชตุ กลุ่ม16เลขที่20
ศักยภาพความพร้อมเพื่อการแข่งขัน
เรื่องประวัติตรุษจีน
 1. ตรุษจีน เป็นเทศกาลที่สำคัญที่สุดของจีน เป็น วันขึ้นปีใหม่ตามปฎิทินจีน เช่นเดียวกับสงกรานต์ วันปีใหม่ไทย ทุกคนต่างให้ความสำคัญอย่างยิ่งมี การเฉลิมฉลองทั่วโลกโดยเฉพาะชุมชนขนาด.
หัวข้อ“ โอกาสของภาคอุตสาหกรรมไทย จาก FTA ไทย-ชิลี”
จากทะเลสู่ทะเล การคิดเกี่ยวกับการค้า. เราสามารถเรียนรู้อะไรเกี่ยวกับ สถานที่จากการอ่านแผนที่ (ตัวอย่างสำหรับการโต้ตอบ) เมืองและเมืองใหญ่ห่างจากเมืองที่จะไป......
การเขียนข้อเสนอการวิจัย
เรื่อง ขนมไทยพื้นบ้าน
สภาพแวดล้อมทางกายภาพ
การค้าผักผลไม้ไทย ในประเทศจีนและฮ่องกง
ลาว วิรันดา สุนทรภักดี คณะศิลปกรรมศาสตร์ สาขานิเทศศิลป์
นางสาว ภูริชญา สมบัติยานุชิต เลขประจำตัวนิสิต :
จังหวัดชลบุรี.
เกาะลอย ศรีราชา สถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดชลบุรี อำเภอศรีราชา
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC
ที่ดิน 200 ไร่ จังหวัดอุดรธานี ของคุณเปรมศักดิ์ ภู่ม่วง
กลุ่มที่14 เรื่องแหล่งท่องเที่ยวจังหวัดสุราษร์ธานี
แนวทางนำเสนอ การ พัฒนาหลักสูตร บูรณการอาเซียน นำเสนอโดย นายไพโรจน์ พิทักษ์ทวยหาญ ศึกษานิเทศก์ ชำนาญการพิเศษ สพป. เชียงใหม่ เขต ๑ ( ๓๑ มี. ค. ๕๗ )
1. นายพชรดนัย บุญประเสริฐ ม.4/10 เลขที่ 5 2. นายปริญญา จีนสมุทร ม.4/10 เลขที่ 7 3. นายพุฒิพงศ์ วนะวนานนท์ ม.4/10 เลขที่ นายสาธิต ตันตระกูล ม.4/10.
จัดทำโดย: น.ส.กนกวรรณ มาลา
จัดทำโดย ด.ช.จิรภัทร นิ่มเจริญ กลุ่ม15เลขที่2
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส 41102
จัดทำโดย เด็กหญิง นันท์นภัส ขะชาติ ชั้น ม.1/13 เลขที่ 24
LAO Best Asian Lao Rapper from Texas- Kay feat. Tony Vee-Struggle
ชุมชนท่าเตียน.
จัดทำโดย ปฏิภาณ ไชยกุล อดิศร สุดดวง
ไม่ใช่แค่ความเก่าธรรมดา แต่ ทรงคุณค่าระดับสากล. หูต่ง ชุมชนโบราณ ประเทศจีน หูต่ง (Hu Tong) ชุมชนโบราณ มรดกวัฒนธรรมกลางกรุงปักกิ่ง จาก สถาปัตยกรรมเก่าคร่ำคร่าที่เกือบจะถูกทุบทิ้ง.
นายพนาสิน หอมจิตต์ ชั้น ปวช 1 เลขที่ 11 กลุ่ม 1 แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
จัดทำโดย ด.ญ.ธันยชนก โพธิ์บัว ด.ญ.ฉัตรชนก ฤทธาภัย
ด.ช ปวริศร เป็นพนัสสัก ม.2/6 เลขที่31
ถอดบทเรียน ยุทธศาสตร์การค้าอาเซียน
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ส 41102
 1. นักเรียนศึกษาคำถามเพื่อศึกษาค้นคว้าตาม ประเด็นต่อไปนี้ 1.1 อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุพบบริเวณใดของ โลก 1.2. อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุมีความเจริญจาก อดีตถึงปัจจุบันจริงหรือ.
ครูจงกล กลาง ชล 1. ผลการเรียนรู้ที่ คาดหวัง อธิบายกิจกรรมการผลิต ของมนุษย์ขั้นทุติยภูมิได้ 2.
จัดทำโดย ด.ญ. อรจิรา บุญภักดี ม.1/14 เลขที่ 31 กลุ่ม 15
บรรยายสรุปจังหวัดขอนแก่น
รายงานประเทศอาเซียน จัดทำโดย ชื่อ ด.ญ.ชนิกา อ่ำทับ กลุ่ม 16 เลขที่ 10
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การศึกษาต่อในประเทศจีน จัดทำโดย นายอภิวัฒน์ กันใจวิน

ที่มาของโครงงาน ในสังคมปัจจุบันคนไทยนิยมเรียนภาษาจีนเพื่อนำไปใช้เป็นเครื่องมือในการประกอบอาชีพกันเป็นจำนวนมาก ประกอบกับการจัดการศึกษาของไทยเรากำลังก้าวไปสู่ความเป็นนานาชาติระดับสากล โดยการใช้ภาษาจีนเป็นสื่อกลางอย่างเห็นได้ชัดเจนมากยิ่งขึ้น ด้วยเหตุผลและหลักการดังกล่าวแล้ว ผู้ศึกษาค้นคว้าจึงมีความสนใจที่จะค้นคว้าว่าในการที่เราจะทำการค้าระหว่างไทย-จีน เราควรจะเข้าศึกษาต่อในเมืองใดจึงจะเหมาะสม ในมหาวิทยาลัยแต่ละแห่งในประเทศจีนอาจจะเปิดเรียนแต่ละสาขาวิชาที่แตกต่างกันไป แต่หากว่าเราต้องการที่จะเรียนสาขาวิชาที่เราสนใจหรือสาขาวิชาที่เกี่ยวกับอาชีพที่เราอย่างจะเป็น เช่น การทำการค้าระหว่างไทย – จีน เราควรจะดูว่าในแต่ละมหาวิทยาลัยแห่งไหนในประเทศจีนที่เหมาะสมที่สุด รวมถึงเมื่อเราเรียนจบแล้วสามารถที่จะทำการค้าระหว่างไทย – จีน ได้เลย ก่อนอื่นเรามาดูกันก่อนว่าประวัติและความเป็นการค้าระหว่างไทย – จีน เกิดขึ้นเมื่อไรและมีรูปแบบการค้าอย่างไรบ้างและทราบสภาพภูมิศาสตร์ของแต่ละเมืองที่น่าสนใจ

การค้าระหว่างประเทศไทยกับจีน 1.ความสัมพันธ์ทางการค้า ภาครัฐบาล ภาคเอกชน 2 .รูปแบบการค้า การค้าปกติ การค้าผ่านแดน 3 .ช่องการจัดจำหน่ายสินค้า กลุ่มสินค้าเกษตร อาหารทะเล สินค้าวัตถุดิบ สินค้าอุปโภคบริโภค

การค้าระหว่างประเทศของไทย

แนะนำเมืองที่น่าสนใจในการศึกษาและทำการค้าไทย - จีน 1.ปักกิ่ง หรือ เป่ย์จิงเป็นเมืองหลวงของประเทศจีนปักกิ่งเป็นเมืองที่มีขนาดใหญ่อันดับสองของประเทศจีนรองจากเซี่ยงไฮ้ปักกิ่งเป็นศูนย์กลางทางการปกครอง การศึกษา การขนส่ง และวัฒนธรรมจีน ในขณะที่ศูนย์กลางทางเศรษฐกิจนั้นจะอยู่ที่เซี่ยงไฮ้และฮ่องกง 2. เทียนจิน หรือ เทียนสิน คือหนึ่งใน 4 เทศบาลนครของจีน เทศบาลนครเทียนจินมีระดับเทียบเท่ากับมณฑลและปกครองจากรัฐบาลกลางโดยตรง พื้นที่ของเทียนจินเป็นเมืองที่มีพื้นที่ใหญ่เป็นอันดับ 3 ในจีนแผ่นดินใหญ่ จัดเป็นเมืองใหญ่อันดับ 3 ของประเทศจีน มีฉายา "เซี่ยงไฮ้ทางเหนือ" เนื่องจากประวัติที่เดิมเคยเป็นเมืองเช่าของตะวันตก การส่งออกอุตสาหกรรมหนัก เป็นเมืองท่าขนาดใหญ่และมีสถาปัตยกรรมแบบตะวันตก

3.เซี่ยงไฮ้ หรือ ช่างไห่ เป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดของประเทศจีน ตั้งอยู่บริเวณปากแม่น้ำแยงซี เป็นเขตการปกครองระดับเขตการปกครองพิเศษแบบเทศบาลนคร ซึ่งมีสถานะเทียบเท่ากับมณฑล พื้นที่อยู่ในมณฑลเจ้อเจียงแต่ไม่ได้ขึ้นกับมณฑล การปกครองขึ้นตรงกับรัฐบาลกลาง มีท่าเรือที่มีจำนวนเรือคับคั่งที่สุดในโลกเซี่ยงไฮ้ในอดีตเป็นเพียงหมู่บ้านชาวประมง แต่ในปัจจุบันเซี่ยงไฮ้กลายเป็นเมืองที่มีคนอาศัยอยู่อย่างหนาแน่นมากที่สุดในจีน เต็มไปด้วยร้านค้า สิ่งก่อสร้าง ถนนเต็มไปด้วยรถ จักรยาน และผู้คน สิ่งที่พบเห็นได้มากในเมืองนี้จนอาจถือได้ว่าเป็นสัญลักษณ์ของเมืองคือต้นเมเปิลที่มีอายุเกือบร้อยปี ซึ่งปลูกโดยในสมัยที่ฝรั่งเศสเข้ามายึดครองเซี่ยงไฮ้

อ้างอิง www.aecthai.com www.banjean.com www.knowchinese.com www.lang-road.com http://www.youtube.com/watch?v=G0z6XVsJtQ0ww.toeasteducation.com