บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หลักสูตร eLearning สำหรับ มทรก เม.ย.09
Advertisements

รายวิชา การเขียนเว็บไซต์
ขั้นตอนการออกแบบมัลติมีเดีย Multimedia Design Step
รศ. ดร. สมศักดิ์ คงเที่ยง
รายงานการวิจัย.
จุดมุ่งหมายหลักสูตร และการนำหลักสูตรไปใช้
   ฮาร์ดแวร์ (Hardware)               ฮาร์ดแวร์เป็นองค์ประกอบสำคัญของระบบสารสนเทศ หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์รอบข้าง รวมทั้งอุปกรณ์สื่อสารสำหรับเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าเป็นเครือข่าย.
การสร้างสื่อด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ADDIE model หลักการออกแบบของ
หลักการออกแบบของ ADDIE model ADDIE model
การสร้างสื่อมัลติมีเดีย
การสร้างสื่อสิ่งพิมพ์
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE MODAL
หน่วยการเรียนเรื่อง ป้ายนิเทศเพื่อการเรียนรู้สู่ศตวรรษที่ 21
- ส่วนใหญ่มีคอมพิวเตอร์ที่บ้าน สามารถต่ออินเตอร์เน็ตได้
หนังสือไร้กระดาษ.
หลักการพัฒนา หลักสูตร
องค์ประกอบ e-Learning และ WBI
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
หัวหน้าฝ่ายสารสนเทศการศึกษา ศูนย์คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
การวางแผนและการดำเนินงาน
ระบบข้อสอบออนไลน์.
แบบทดสอบก่อนเรียน วิชา โครงงานคอมพิวเตอร์
การสร้างสื่อประสมบทเรียนช่วยสอน Multimedia ผ่าน Internet
การเตรียมการนำเสนอผลงานของ PCT และระบบสำคัญ
การติดตาม และประเมินโครงการ.
คอมพิวเตอร์สำหรับ นักศึกษาบัณฑิต (Computer for Graduate Students)
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
การประเมินผลการเรียน
ความหมาย ปัญญาประดิษฐ์
สื่อการเรียนการสอน.
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนบ้านแท่นวิทยา สพท.ชย.2
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนบ้านแท่นวิทยา สพท.ชย.2
การออกแบบสื่อการเรียนรู้
ยินดีต้อนรับสู่การอบรม ณ โรงเรียนสุรนารีวิทยา
แบบฝึกทักษะภาษาอังกฤษออนไลน์
แบบฝึกทักษะภาษาอังกฤษออนไลน์ เรื่อง Conditional Sentences
แบบฝึกทักษะภาษาอังกฤษออนไลน์ เรื่อง Conditional Sentences
การวิจัยและพัฒนาผู้เรียนด้วย E-Learning
การพัฒนาสื่อการสอนอิเล็กทรอนิกส์โดยครูต้นแบบ สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
หน่วยที่ 3 สื่อการเรียนรู้สำหรับคอมพิวเตอร์พกพา (Tablet) กิจกรรมที่2 การผลิต การใช้ การประเมินผล สื่อ ICT.
ทบทวนทฤษฎีหลักสูตร ดร.อมรา เขียวรักษา.
การสร้างข้อสอบ ตามแนวการวัดใน PISA
การออกแบบตัวชี้วัดที่ประสบความสำเร็จในการทำ E-Learning โดย เบคิม เฟทาจิ , เมย์ลินดา เฟทาจิ มหาวิทยาลัยยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีร่วมสมัย.
การวิเคราะห์เนื้อหา.
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
ศ.ดร.สุมาลี สังข์ศรี มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
การเขียนแบบเสนอหัวข้อโครงงาน
การจัดการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ
หลักสูตร ศิลปะการพูดในที่ชุมนุมชน บรรยาย โดย อาจารย์วทัญญู มุ่งหมาย
ระหว่างวันที่ กรกฎาคม 2557 ณ ภูเขางาม รีสอร์ท จ.นครนายก
Slide 1 of 11 วิธีการสอนแบบอีเลิร์นนิง (e-Padagogy) การสอนแบบบรรยาย วิธีการสอนออนไลน์ แบบบรรยาย ฐาปนีย์ ธรรมเมธา.
TO DAY AGENDA วันนี้จะสอน อะไร 1. แผนการสอน เรื่อง ……………………………………… …………………………………… ชั่วโมง หน่วย ……………………. ………………… ชั้น …………. ภาคเรียน …… ความสำคัญ วัสดุ
การออกแบบการสอน รูปแบบ ADDIE Model
การประเมินความเป็นเว็บช่วยสอน (Evaluation of Web-Based Instructin)
WBI คืออะไร   WBI หรือ Web Base Instruction เป็นการจัดกิจกรรมการสอนใน รูปแบบของ Web Knowledge Based โดยใช้เทคโนโลยีทางของ Webpage เป็นศูนย์กลางในการนำเสนอเนื้อหา.
การสอนโดยใช้บทเรียนโปรแกรม
ADDIE Model.
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
ตัวอย่างการใช้ในโรงเรียนบ้านดอนกลาง
เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาการใช้โปรแกรมกราฟิก
การพัฒนาการเรียนรู้รายวิชาการโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วย e-Learning
การสร้างสื่อ e-Learning
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
The ASSURE Model การใช้สื่อการสอนอย่างเป็นระบบ โดยใช้แบบจำลอง
นายอนุพงศ์ อินทนิด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จังหวัดลำพูน
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE Model
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
หลักการออกแบบของ ADDIE model
หลักการออกแบบของ ADDIE model มีขั้นตอนดังนี้. 1
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ (e-Courseware)

ความหมายของบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ (e-Courseware)   บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ (e-Courseware) เป็นสื่อการเรียนการสอนที่ถูกออกแบบให้อยู่ในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อตอบสนองการเรียนการสอนทางไกล (Distance Learning) ผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต (Internet) หรือการเรียนการสอนออนไลน์ Online ซึ่งลักษณะการเรียนการสอนออนไลน์ Online นั้นเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ ดังนั้นสื่ออิเล็กทรอนิกส์จะต้องได้รับการออกแบบตามหลักการและทฤษฎีทางด้านต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นทฤษฎีทางด้านการศึกษาและด้านจิตวิทยา

 กระบวนการออกแบบสื่อบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ (e-Courseware) นั้น มีจุดมุ่งหมายให้ผู้เรียนเกิดความรู้ความเข้าใจในทฤษฎีองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา และสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปพัฒนาและประยุกต์ใช้ในงานของตนเองได้ โดยดำเนินการผลิตบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ (e-Courseware) ภายใต้มาตรฐานการออกแบบการเรียนการสอน (Instructional Design) ทฤษฏีการเรียนรู้ของกาเย่ หลักการทางด้านจิตวิทยา และหลักการออกแบบบทเรียนตามรูปแบบ ADDIE Model (Instructional Design) โดยคำนึงถึงความเข้าใจ ความต้องการ และเข้าใจธรรมชาติของกลุ่มเป้าหมายที่เป็นผู้ใหญ่ให้รู้สึกอยากเรียนและไม่เกิดความเบื่อหน่าย เมื่อเข้าไปเรียนแล้ว  อยากศึกษาค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติมจากแหล่งการเรียนรู้อื่น มีความกระตือรือร้นที่อยากจะเรียนเพิ่มเติมต่อ และสามารถนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้และเพิ่มความรู้ในการทำงานให้ประสบความสำเร็จและมีประสิทธิภาพมากขึ้น

Analysis:  ขั้นตอนการวิเคราะห์บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ (e-Courseware)  ขั้นตอนการวิเคราะห์ แบ่งได้ดังนี้ - การวิเคราะห์หลักสูตร - การวิเคราะห์เนื้อหา - การวิเคราะห์ผู้เรียน โดยขั้นตอนการวิเคราะห์เป็นส่วนสำคัญในการพัฒนาชุดวิชาต่างๆ โดยผู้ออกแบบ (Instructional Designer) บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ (e-Courseware) จะต้องคำนึงถึงหลักสูตรการเรียนการสอนออนไลน์ online ลักษณะเนื้อหาวิชา วัตถุประสงค์ของการเรียนการสอน กลุ่มเป้าหมาย การเลือกสื่อที่นำมาใช้ในการนำเสนอ ความเหมาะสมของบทเรียนกับผู้เรียน รวมถึงบทเรียนต้องใช้งานง่าย

2. Design : ขั้นตอนการออกแบบบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ (e-Courseware) ขั้นตอนนี้เป็นผลมาจากการวิเคราะห์โดยออกมาในลักษณะของแบบร่างการเรียนการสอนทางไกล (Distance Learning) แบบร่างนี้เป็นเอกสารการออกแบบที่ครอบคลุมถึงวัตถุประสงค์การเรียนการสอน กลยุทธ์ในการเรียนการสอน เนื้อหาบทเรียน โดยใช้เอกสารนี้ในการสื่อสารกับทีมงานในการทำงานร่วมกันให้ประสบผลสำเร็จ -การออกแบบเนื้อหา - การออกแบบโครงสร้างและลักษณะ -การออกแบบให้มีปฎิสัมพันธ์และการเชื่อมโยง -การออกแบบรูปแบบการนำเสนอให้มีความน่าสนใจ

3. Development : ขั้นการพัฒนาบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ (e-Courseware) เป็นขั้นตอนของการผลิตตามเอกสารการออกแบบเป็นการพัฒนาสื่อการเรียนการสอน e-Learning (อีเลิร์นนิง) โดยเริ่มจากเขียน Storyboard ตามเอกสารการออกแบบที่ได้รับการตรวจสอบเนื้อหาที่ถูกต้องแล้ว การเขียน Storyboard เป็นการอธิบายหน้าจอของการเรียนการสอนในแต่ละหน้าว่าผู้เรียนจะเห็น ได้ยินหรือว่ามีปฎิสัมพันธ์อะไรกับบทเรียนออนไลน์ Online e-Learning (อีเลิร์นนิง) บ้าง Storyboard จะเป็นเครื่องมือในการทำงานของกราฟิก ทีมตัดต่อเสียง/ภาพ และโปรแกรมเมอร์ในการผลิตบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ (e-Courseware) และบทเรียนออนไลน์ Online e-Learning (อีเลิร์นนิง) ที่เสร็จสมบูรณ์ต้องได้รับการตรวจสอบความถูกต้องและรูปแบบที่ต้องการสื่อความหมายจากผู้ที่มีความเชี่ยวชาญด้านเนื้อหาก่อนนำไปใช้

4. Implementation : ขั้นตอนการนำบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ (e-Courseware) ไปใช้ ขั้นตอนนี้เป็นส่วนหนึ่งของการนำบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ (e-Courseware) ไปใช้ในการเรียนการสอน โดยนำบทเรียน e-Learning (อีเลิร์นนิง) ลงระบบ ทำการตรวจสอบการใช้งานของบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ (e-Courseware)และระบบ พร้อมกับมีฝ่ายเทคนิคให้การช่วยเหลือผู้เรียนในการใช้งานบทเรียนออนไลน์ Online e-Learning (อีเลิร์นนิง) ไม่ว่าจะเป็นด้านโปรแกรมหรือว่าเครื่องมือการใช้งานบทเรียน e-Learning (อีเลิร์นนิง)

5. Evaluation : ขั้นการประเมินผลบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ (e-Courseware) เป็นขั้นตอนสุดท้าย คือประสิทธิภาพของบทเรียนออนยไลน์ Online e-Learning (อีเลิร์นนิง) ที่ผลิตขึ้นมา โดยอาจารย์ผู้สอนและคณะกรรมการเป็นผู้ตรวจสอบความถูกต้องของบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ (e-Courseware)        

อ้างอิง http://www.uplus-solution.com/content.php?ct_id=40 https://sites.google.com/site/supoldee/e-courseware