อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
คำชี้แจง 1.นักเรียนศึกษาคำถามเพื่อศึกษาค้นคว้าตามประเด็นต่อไปนี้ 1.1 อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุพบบริเวณใดของโลก 1.2. อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุมีความเจริญจากอดีตถึงปัจจุบันจริงหรือ 1.3. สิ่งใดที่บ่งบอกความเจริญของอารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ 1.4 อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุมีอิทธิพลต่อสังคมไทยเราอย่างไร 2. ให้นักเรียนศึกษา อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ 1 อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ 2 หรือเว็บไซต์อื่นๆ แล้วตอบคำถามตามประเด็นโดยให้ทำใส่ power point หรือ ทำเป็นคลิปVDO ส่งตรง add reply ส่งภายใน 25 ธันวาคม 2556
1.1 อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุพบบริเวณใดของโลก เป็นแหล่งอารยธรรมเริ่มแรกของอินเดีย อยู่บริเวณดินแดนภาคตะวันตกของอินเดีย (ปากีสถานในปัจจุบัน) ที่แม่น้ำสินธุไหลผ่าน อาณาเขตลุ่มแม่น้ำสินธุครอบคลุมบริเวณกว้างกว่าลุ่มแม่น้ำไนล์แห่งอิยิปต์ โดยทุกๆปีกระแสน้ำได้ไหลท่วมท้นฝั่งทำให้ดินแดนลุ่มน้ำสินธุอุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การทำกสิกรรม นักประวัติศาสตร์บางคนเรียกอารยธรรมในดินแดนนี้ว่า วัฒนธรรมฮารัปปา (Harappa Culture)
1.2. อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุมีความเจริญจากอดีตถึงปัจจุบันจริงหรือ จริง เพราะ อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุมีความเจริญจากอดีตจนถึงปัจจุบันอย่างรวดเร็ว อย่างเห็นได้ชัด ซึ่งเป็นอารยธรรมที่ใหญ่จนติดอันดับของโลก
1.3. สิ่งใดที่บ่งบอกความเจริญของอารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ เป็นศูนย์กลางวัฒนธรรมแห่งนี้ พบว่ามีความเจริญอย่างยิ่งในด้านการวางผังเมือง เพราะมีการวางผังเมืองอย่างเป็นระบบระเบียบ มีระบบท่อระบายน้ำ มีสระขนาดใหญ่ภายใต้ตึก 3 ชั้น ยุ้งฉางสำหรับเก็บผลผลิตทางการเกษตร และมีหลักฐานการติดต่อค้าขายกับดินแดนเมโสโปเตเมีย
1.4 อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุมีอิทธิพลต่อสังคมไทยเราอย่างไร 1.4 อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุมีอิทธิพลต่อสังคมไทยเราอย่างไร อินเดียเป็นอารยธรรมของคนในแถบเอเชียใต้และมีอิทธิพลต่ออารยธรรมอื่นๆ โดยเฉพาะอารยธรรมเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และเอเชียตะวันออก อารยธรรมอินเดียโบราณหรืออารยธรรมลุ่มแม้น้ำสินธุ จัดเป็นอารยธรรมที่ยิ่งใหญ่แห่งหนึ่งของโลก ดินแดนบริเวณนี้ประมาณ 3,000-2,500 ปีก่อนคริสตกาล จัดเป็นแหล่งอารยธรรมเมืองแห่งหนึ่งของโลกยุคโบราณ จากการขุดค้นพบ “เมืองโมเฮนโจดาโร (Mohenjo-daro) และเมืองฮารัปปา (Harappa) ซึ่งเป็นศูนย์กลางวัฒนธรรมแห่งนี้ พบว่ามีความเจริญอย่างยิ่งในด้านการวางผังเมือง เพราะมีการวางผังเมืองอย่างเป็นระบบระเบียบ มีระบบท่อระบายน้ำ มีสระขนาดใหญ่ภายใต้ตึก 3 ชั้น ยุ้งฉางสำหรับเก็บผลผลิตทางการเกษตร และมีหลักฐานการติดต่อค้าขายกับดินแดนเมโสโปเตเมีย
นางสาวจุฑามาศ อินทรกันหา จัดทำโดย นางสาวจุฑามาศ อินทรกันหา เลขที่ 21 ชั้น ม.5/1