เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา
วัตถุประสงค์ 1.บอกความหมายของเทคโนโลยีและเทคโนโลยีการศึกษาได้ 2. บอกประโยชน์เทคโนโลยีต่อสาขาวิชาชีพของตนได้ 3. บอกความหมายของนวัตกรรมการศึกษาได้ 4. จำแนกลักษณะเด่นที่จัดว่าเป็นนวัตกรรมการศึกษาได้ 5. อธิบายความเป็นมาและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษาได้ 6. อธิบายพัฒนาการของคอมพิวเตอร์เพื่อการสอนได้ 7. อธิบายขอบข่ายพื้นฐานของสาขาวิชาเทคโนโลยีการสอนได้
ความหมายของเทคโนโลยีและเทคโนโลยีการศึกษา เทคโนโลยี” หมายถึงการนำแนวคิด หลักการ เทคนิค วิธีการ กระบวนการตลอดจนผลิตผลทางวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้ในระบบงานต่างๆ เพื่อปรับปรุงระบบงานนั้นๆให้ดีขึ้นและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
ในปัจจุบันในวงการต่างๆเช่น เกษตร แพทย์ อุตสาหกรรม ธุรกิจ ทหาร ต่างก็นำเทคโนโลยีมาใช้เพื่อก่อให้เกิดประโยชน์ต่อสาขาวิชาชีพของตนอย่างเต็มที่ อันจะเอื้ออำนวยในด้านต่างๆ ดังนี้ 1. ด้านประสิทธิภาพ 2. ด้านประสิทธิผล 3. ประหยัด 4. ปลอดภัย
คำถาม การนำวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้ในด้านต่างๆ เพื่อปรับปรุงระบบนั้นๆ ใช่ความหมาย เทคโนโลยีของคาร์เตอร์ หรือไม่ ใช่ ไม่ใช่ เทคโนโลยี ก่อให้เกิดประโยชน์ เอื้ออำนวยได้ 4 ด้าน ใช่หรือไม่
เฉลยคำถาม การนำวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้ในด้านต่างๆ เพื่อปรับปรุงระบบนั้นๆ ใช่ความหมาย เทคโนโลยีของคาร์เตอร์ หรือไม่ ใช่ ไม่ใช่ เทคโนโลยี ก่อให้เกิดประโยชน์ เอื้ออำนวยได้ 4 ด้าน ใช่หรือไม่
ชัยยงค์พรหมวงศ์ (2526) ได้ให้นิยามไว้ว่า “เทคโนโลยีการศึกษา”เป็นระบบการประยุกต์ผลิตกรรมทางวิทยาศาสตร์ ได้แก่ วัสดุและผลิตกรรมทางวิศวกรรมศาสตร์ ได้แก่ อุปกรณ์โดยยึดหลักการทางพฤติกรรมศาสตร์
“เทคโนโลยีการศึกษา”(Educational Technology) เป็นกระบวนการที่มีการบูรณาการอย่างซับซ้อน เกี่ยวกับบุคคล กรรมวิธีแนวคิด เครื่องมือและองค์กร เพื่อนำไปใช้ในการวิเคราะห์ปัญหา การสร้าง การประยุกต์ใช้การประเมินผลและจัดการแก้ปัญหาต่างๆดังกล่าว ที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้ของมนุษย์ในทุกลักษณะ
คำถาม ชัยยงค์พรหมวงศ์ คือ ผู้ให้นิยามไว้ว่า“เทคโนโลยีการศึกษา”เป็นระบบการประยุกต์ผลิตกรรมทางวิทยาศาสตร์ ใช่ ไม่ใช่ Educational Technology หมายถึง เทคโนโลยีการศึกษา ใช่ ไม่ใช่
เฉลยคำถาม ชัยยงค์พรหมวงศ์ คือ ผู้ให้นิยามไว้ว่า“เทคโนโลยีการศึกษา”เป็นระบบการประยุกต์ผลิตกรรมทางวิทยาศาสตร์ ใช่หรือไม่ ใช่ ไม่ใช่ Educational Technology หมายถึง เทคโนโลยีการศึกษา ใช่หรือไม่ ใช่ ไม่ใช่
แหล่งการเรียนอาจจำแนกได้เป็นสาร (Message) คน (People) วัสดุ (Materials) เครื่องมือ (Devices) เทคนิควิธีการ (Techniques and Setting) กระบวนการในการวิเคราะห์ปัญหา การสร้างหรือการผลิต การนำไปใช้ (Implementing) ตลอดจนการประเมินการแก้ปัญหานั้น
นวัตกรรมการศึกษา นวัตกรรม (Innovation)หมายถึงการทำสิ่งใหม่ๆ หรือการทำสิ่งใหม่ขึ้นมา มาจากคำภาษาอังกฤษว่า Innovate และมาจากคำว่า Innovare ซึ่งหมายถึง to renew, to modify อาจแปลความหมายได้ว่า ทำใหม่หรือเปลี่ยนแปลงสิ่งใหม่ๆ เข้ามา
คำถาม สาร (Message)เครื่องมือ (Devices)วัสดุ (Materials) เป็นแหล่งการเรียนรู้เทคโนโลยีการศึกษา ใช่หรือไม่ ใช่ ไม่ใช่ 6. Innovation หมาถึง นวัตกรรม ใช่หรือไม่ ใช่ ไม่ใช่
เฉลยคำถาม สาร (Message)เครื่องมือ (Devices)วัสดุ (Materials) เป็นแหล่งการเรียนรู้เทคโนโลยีการศึกษา ใช่หรือไม่ ใช่ ไม่ใช่ 6. Innovation หมาถึง นวัตกรรม ใช่หรือไม่ ใช่ ไม่ใช่
ลักษณะเด่นที่จัดว่าเป็นนวัตกรรมการศึกษา 1.จะต้องเป็นสิ่งใหม่ทั้งหมดหรือบางส่วนอาจใช้เป็นของเก่าที่ใช้ในอดีตแล้วนำมาปรับปรุงใหม่ให้ดียิ่งขึ้น 2.มีการ ศึกษา ทดลอง โดยอาศัยหลักการ ทฤษฎี มาใช้อย่างเป็นระบบ 3.มีการพิสูจน์ด้วยการทดลองหรือวิจัย 4.ยังไม่เป็นส่วนหนึ่งของระบบงานในปัจจุบัน หากว่าสิ่งใหม่นั้นได้มีการเผยแพร่ จนกลายเป็นสิ่งที่
ความเป็นมาและพัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา รากฐานของเทคโนโลยีการศึกษามีประวัติมายาวนาน โดยเริ่มจากสมัยกรีก คำว่าTechnologiaหมายถึง การกระทำอย่างเป็นระบบ หรืองานฝีมือ (Craft) ชาวกรีก ได้เป็นผู้ที่เริ่มใช้วัสดุในการสอนประวัติศาสตร์และหน้าที่พลเมืองโดยการแสดงละคร ใช้ดนตรี โดยเฉพาะอย่างยิ่งการศึกษาของชาวกรีกและโรมันโบราณได้ให้ความสำคัญกับการศึกษานอกสถานที่ http://www.youtube.com/watch?v=tQ734AZnxQ0
คำถาม ลักษณะเด่นที่จัดว่าเป็นนวัตกรรมการศึกษา มีกี่ 5 ลักษณะใช่หรือไม่ ใช่ ไม่ใช่ รากฐานของเทคโนโลยีการศึกษามีประวัติมายาวนาน โดยเริ่มจากสมัยกรีกใช่หรือไม่
เฉลยคำถาม ลักษณะเด่นที่จัดว่าเป็นนวัตกรรมการศึกษา มีกี่ 5 ลักษณะใช่หรือไม่ ใช่ ไม่ใช่ รากฐานของเทคโนโลยีการศึกษามีประวัติมายาวนาน โดยเริ่มจากสมัยกรีกใช่หรือไม่
พัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษา กลุ่มที่มีชื่อเสียงกลุ่มหนึ่งได้แก่กลุ่มโซฟิสต์(Sophist) เป็นกลุ่มครูผู้สอน ชาวกรีกได้ออกทำการสอนความรู้ต่างๆ ให้กับชน รุ่นเยาว์ได้รับการยอมรับว่าเป็นผู้ที่มี ความฉลาดปราดเปรื่องในการอภิปรายโต้แย้ง ถกปัญหา จนได้รับการขนานนามว่าเป็นนักเทคโนโลยีการศึกษากลุ่มแรก และกลุ่มโซฟิสต์ที่มีอิทธิพลต่อการศึกษา
กลุ่มบุคคลที่มีบทบาทในการพัฒนา ในปี 1920-1930 Franklin Bobbiltได้นำแนวคิดของธอร์นไดท์ไปประยุกต์ ใช้กับปัญหาทางด้านการศึกษา โดยการสนับสนุนเป้าหมายเชิงปฏิบัติ และได้แนะนำว่า เป้าหมายของโรงเรียน ควรมาจากพื้นฐานการวิเคราะห์ทักษะที่จำเป็นสำหรับการมีชีวิต ที่ประสบความสำเร็จ ส่วนนี้เป็นหลักพื้นฐานสำหรับการวิเคราะห์
คำถาม กลุ่มโซฟิสต์คือกลุ่มที่ได้รับการขนานนามว่าเป็นนักเทคโนโลยีการศึกษากลุ่มแรกใช่หรือไม่ ใช่ ไม่ใช่ กลุ่มบุคคลที่มีบทบาทในการพัฒนาได้นำแนวคิดของธอร์นไดท์ไปประยุกต์ ใช้กับปัญหาทางด้านการศึกษา ในปี1920-1930 ใช่หรือไม่ ใช่ ไม่ใช่
เฉลยคำถาม กลุ่มโซฟิสต์คือกลุ่มที่ได้รับการขนานนามว่าเป็นนักเทคโนโลยีการศึกษากลุ่มแรกใช่หรือไม่ ใช่ ไม่ใช่ กลุ่มบุคคลที่มีบทบาทในการพัฒนาได้นำแนวคิดของธอร์นไดท์ไปประยุกต์ ใช้กับปัญหาทางด้านการศึกษา ในปี1920-1930 ใช่หรือไม่ ใช่ ไม่ใช่
ในช่วง ปี 1950 - 1960 เป็นช่วงที่สำคัญของสาขาวิชาการออกแบบการสอน (Instructional design) ในปี 1956 เบนจามินบลูม (Benjamin Bloom) และเพื่อนร่วมงานได้ตีพิมพ์ผลงานการจำแนกจุดประสงค์การศึกษา (Taxonomy of Educational Objectives ) เป็นลำดับขั้น ที่ชัดเจน และเริ่มใช้อย่างแพร่หลายโดยทั่วไปในกลุ่มสาขาศึกษาศาสตร์มาจนถึงปัจจุบัน
ในช่วงปลายปี 1960 การออกแบบการสอนได้มีการยอมรับว่าเป็นสาขาวิชาหนึ่งโดยตัวเองและหลังจากทศวรรษ 1960 ได้มีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงและขยายขอบเขตสาขาวิชาให้กว้างขวางยิ่งขึ้นโดยการนำทฤษฎีการเรียนรู้พุทธิปัญญานิยม (Cognitive Theories)
คำถาม 11. เบนจามินบลูม (Benjamin Bloom) และเพื่อนร่วมงานได้ตีพิมพ์ผลงานการจำแนกจุดประสงค์การศึกษาในปี 1959 ใช่หรือไม่ ใช่ ไม่ใช่ 12. มีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงและขยายขอบเขตสาขาวิชาให้กว้างขวางยิ่งขึ้นในปี หลังจากทศวรรษ 1960 ใช่หรือไม่
เฉลยคำถาม 11. เบนจามินบลูม (Benjamin Bloom) และเพื่อนร่วมงานได้ตีพิมพ์ผลงานการจำแนกจุดประสงค์การศึกษาในปี 1959 ใช่หรือไม่ ใช่ ไม่ใช่ 12. มีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงและขยายขอบเขตสาขาวิชาให้กว้างขวางยิ่งขึ้นในปี หลังจากทศวรรษ 1960 ใช่หรือไม่
ในปี1905 พิพิธภัณฑ์ทางการศึกษา St ในปี1905 พิพิธภัณฑ์ทางการศึกษา St. Louis กลายเป็นพิพิธภัณฑ์แบบเปิดของโรงเรียนในสหรัฐอเมริกา ปัจจุบันเรียกว่า“ศูนย์สื่อการศึกษา” (Media Center) ซึ่งเป็นสถานที่เก็บรวบรวมงานศิลปะ หุ่นจำลอง แผนภูมิของจริงและสื่อวัสดุอื่นๆ จากทั่วโลก
ต่อมาโดยรถบรรทุกแคตตาลอกของสื่อการสอนได้รับการจัดไว้ในโปรแกรมการเรียนการสอนและจัดหาให้ครูผู้สอน สามารถสั่งจองได้ ในปีค.ศ. 1943 พิพิธภัณฑ์ St. Louis ได้เปลี่ยนชื่อมาเป็น ฝ่ายโสตทัศนศึกษา (Division of Audio-Visual Education)
คำถาม ในปี1905 พิพิธภัณฑ์ทางการศึกษา St. Louis กลายเป็นพิพิธภัณฑ์แบบเปิดของโรงเรียนในสหรัฐอเมริกา ปัจจุบันเรียกว่า ศูนย์สื่อการศึกษา ใช่หรือไม่ ใช่ ไม่ใช่ พิพิธภัณฑ์ St. Louis ได้เปลี่ยนชื่อมาเป็น ฝ่ายโสตทัศนศึกษา (Division of Audio-Visual Education) ในปีในปีค.ศ. 1943 ใช่หรือไม่ ใช่ ไม่ใช่
เฉลยคำถาม ในปี1905 พิพิธภัณฑ์ทางการศึกษา St. Louis กลายเป็นพิพิธภัณฑ์แบบเปิดของโรงเรียนในสหรัฐอเมริกา ปัจจุบันเรียกว่า ศูนย์สื่อการศึกษา ใช่หรือไม่ ใช่ ไม่ใช่ พิพิธภัณฑ์ St. Louis ได้เปลี่ยนชื่อมาเป็น ฝ่ายโสตทัศนศึกษา (Division of Audio-Visual Education) ในปีในปีค.ศ. 1943 ใช่หรือไม่ ใช่ ไม่ใช่
ได้มีความพยายามในการนำสื่อทางด้าน เสียง (Audio) เข้ามาเป็นสื่อ การเรียนการสอน (Instruction media) ช่วงระหว่างปี 1920-1930 ได้มีการนำวิทยุเข้ามาทดลองใช้ และในปี 1929 โรงเรียนทางอากาศโอไฮโอ โดยความร่วมมือกับมลรัฐมหาวิทยาลัยโอไฮโอกับสถานีวิทยุ Cincinnati
คำถาม มีการนำวิทยุเข้ามาทดลองใช้ในโรงเรียนทางอากาศโอไฮโอ โดยความร่วมมือกับมลรัฐมหาวิทยาลัยโอไฮโอกับสถานีวิทยุในปี 1929 ใช่หรือไม่ ใช่ ไม่ใช่ เฉลยคำถาม
พัฒนาการของคอมพิวเตอร์เพื่อการสอน (Instructional Computer Roots) คอมพิวเตอร์มีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกับนวัตกรรมการศึกษา (Innovations) ในปัจจุบันคอมพิวเตอร์ยุคแรกจะนำอิเลคทรอนิกส์ดิจิตอลมาใช้ในการสร้างประวัติศาสตร์ของการพัฒนาคอมพิวเตอร์อาจแบ่งเป็น 4 ช่วง คือ
คำถาม ในปัจจุบันคอมพิวเตอร์ยุคแรกจะนำอิเลคทรอนิกส์ดิจิตอลมาใช้ในการสร้างประวัติศาสตร์ของการพัฒนาคอมพิวเตอร์อาจแบ่งเป็น กี่ 5 ช่วง ใช่หือไม่ ใช่ ไม่ใช่ เฉลยคำถาม
ในการจัดการเรียนการสอนในมหาวิทยาลัยอิลินอย และได้มีการนำระบบนี้ไปใช้ที่มหาวิทยาลัยอื่นๆบทเรียนที่เป็นต้นแบบในการพัฒนาสามารถปรับมาใช้กับ Personal Computerได้และโปรแกรมสำเร็จรูปที่ใช้ในการพัฒนาบทเรียน เรียกว่าTUTORซึ่งยังคงมีการใช้สำหรับระบบการฝึกอบรม
คำถาม 17. โปรแกรมสำเร็จรูปที่ใช้ในการพัฒนาบทเรียน เรียกว่า TUTOR ใช่หรือไม่ใช่ ใช่ ไม่ใช่ เฉลยคำถาม
ในช่วงปลายทศวรรษ 1980 ผู้เชี่ยวชาญทางด้านคอมพิวเตอร์การเรียนการสอนได้ล้มเลิกแนวความคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ภาษาคอมพิวเตอร์และแยกมาจัดตั้งเป็นสาขาทางการศึกษาใหม่โดยนำแนวคิดการบูรณาการลงในหลักสูตรรวมถึงการใช้คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ในบริบทของเนื้อหาวิชา
คำถาม 18. ผู้เชี่ยวชาญทางด้านคอมพิวเตอร์การเรียนการสอนได้ล้มเลิกแนวความคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ภาษาคอมพิวเตอร์และแยกมาจัดตั้งเป็นสาขาทางการศึกษาใหม่ในช่วงปีช่วงต้นทศวรรษ 1980 ใช่หรือไม่ใช่ ใช่ ไม่ใช่ เฉลยคำถาม
แหล่งการเรียนสำหรับการเรียนรู้ดังจะเห็นความสัมพันธ์ของขอบข่ายทั้ง 5 ได้แก่การออกแบบ (Design) การพัฒนา (Development) การใช้ (Utilization) การจัดการ (Management) และการประเมิน (Evaluation)
คำถาม การพัฒนาใช่กระบวนการและแหล่งการเรียนสำหรับการเรียนรู้ใช่หรือไม่ใช่ ใช่ ไม่ใช่ เฉลยคำถาม
ขอบข่ายพื้นฐานของสาขาวิชาเทคโนโลยีการสอน การออกแบบ การพัฒนา การใช้ การจัดการและการประเมิน ส่วนประกอบทั้ง 5 นี้เป็นขอบข่ายของพื้นฐานความรู้และองค์ประกอบที่สำคัญในสาขาวิชานี้ อาจเรียกได้ว่า 5 ขอบข่ายพื้นฐานของสาขาวิชาเทคโนโลยีการสอน ซึ่งแต่ละองค์ประกอบมีรายละเอียดคือ
คำถาม ขอบข่ายพื้นฐานของสาขาวิชาเทคโนโลยีการสอนมี 5องค์ประกอบใช่หรือไม่ใช่ ใช่ ไม่ใช่ คำถามเฉลย
สรุป เทคโนโลยี” หมายถึงการนำแนวคิด หลักการ เทคนิค วิธีการ กระบวนการตลอดจนผลิตผลทางวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้ในระบบงานต่างๆ เพื่อปรับปรุงระบบงานนั้นๆให้ดีขึ้นและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น “เทคโนโลยีการศึกษา”(Educational Technology) เป็นกระบวนการที่มีการบูรณาการอย่างซับซ้อน เกี่ยวกับบุคคล กรรมวิธีแนวคิด เครื่องมือและองค์กร เพื่อนำไปใช้ในการวิเคราะห์ปัญหา การสร้าง การประยุกต์ใช้การประเมินผลและจัดการแก้ปัญหาต่างๆดังกล่าว ที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้ของมนุษย์ในทุกลักษณะ เทคโนโลยีมาใช้เพื่อก่อให้เกิดประโยชน์ต่อสาขาวิชาชีพของตน นวัตกรรม (Innovation)หมายถึงการทำสิ่งใหม่ๆ หรือการทำสิ่งใหม่ขึ้นมา มาจากคำภาษาอังกฤษว่า Innovate และมาจากคำว่า Innovare ซึ่งหมายถึง to renew, to modify อาจแปลความหมายได้ว่า ทำใหม่หรือเปลี่ยนแปลงสิ่งใหม่ๆ เข้ามา
พัฒนาการของคอมพิวเตอร์เพื่อการสอน (Instructional Computer Roots) คอมพิวเตอร์มีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกับนวัตกรรมการศึกษา (Innovations) ในปัจจุบันคอมพิวเตอร์ยุคแรกจะนำอิเลคทรอนิกส์ดิจิตอลมาใช้ในการสร้างประวัติศาสตร์ของการพัฒนาคอมพิวเตอร์อาจแบ่งเป็น 4 ช่วง คือในยุคแรกของคอมพิวเตอร์จะใช้เทคโนโลยีหลอดสูญญากาศ ในยุคต่อมาหลังจากทศวรรษ 1950 และในช่วงเริ่มต้นของ 1960 ในยุคนี้จะใช้เทคโนโลยีทรานซิสเตอร์ (Transistor) พบว่าคอมพิวเตอร์ในยุคนี้จะมีขนาดเล็กลงและความเร็วเพิ่มขึ้นและราคาลดลงและมีเสถียรภาพเพิ่มขึ้น ในยุคที่ 3 จะมีความเร็วเพิ่มขึ้นเพราะนำเทคโนโลยี Solid State มาบูรณาการกับ Circuit เรียกว่า Integrated - Circuit (ICs) และ Icsซึ่งการบูรณาการเทคโนโลยีดังกล่าวเข้าด้วยกัน เรียกว่าชิฟ (Chip) ในยุคที่ 4 เริ่มเข้ามาในทศวรรษ 1970 และใช้ Very Large-scale integration (VLSI) สิ่งที่มีการพัฒนาที่สำคัญที่สุดในยุคนี้คือไมโครโปรเซสเตอร์เป็นชิฟเดี่ยวที่ทำจากซิลิคอนซึ่งพัฒนาโดยวิศวกรของบริษัท Intel Corporation ซึ่งนำไปสู่ Personal Computer
โปรแกรมวิชาพลศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร ผู้จัดทำ นายธีรวุฒิ บุญสิทธิ์ 551121009 โปรแกรมวิชาพลศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร