แสงและการมองเห็น ผู้จัดทำ นางเฉลิมศรี เปียปาน
ที่มาและความสำคัญ เนื่องจากในปัจจุบัน ถ้าไม่มีแสงเราจะไม่สามารถมองเห็นได้ แต่ยังไม่ทราบหลักการทำงานของแสงว่าสามารถทำให้เรามองเห็นได้อย่างไร ผู้จัดทำโครงงานจึงจัดทำโครงงานขึ้นเพื่อศึกษาศึกษาการ เคลื่อนที่ของแสง และประโยชน์ของแสงในชีวิตประจำวัน
วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาการเคลื่อนที่ของแสง 2. เพื่อศึกษาประโยชน์ของแสงในชีวิตประจำวัน
ลักษณะของการมองเห็นภาพ 1. การมองเห็นภาพจากวัตถุโดยตรง 2. การมองเห็นภาพผ่านการสะท้อน เนื่องจาก - กระจกเงาราบ - กระจกเงาเว้า - กระจกเงาโค้ง
การมองเห็นภาพผ่านการสะท้อน กระจกเงาราบ
การมองเห็นภาพผ่านการสะท้อน กระจกเงาเว้า กระจกเงาโค้ง
การมองเห็นภาพผ่านการหักเห เนื่องจาก - เลนส์
ตา หลักการ - แสงจากวัตถุหักเหผ่านเลนส์ตา ( เลนส์นูน )แล้วเกิดภาพจริงชัดบนเรตินา ( ฉาก ) - ม่านตาทำหน้าที่ปรับปริมาณที่ตกบนเรตินา - ภาพชัดบนเรตินาเกิดได้โดยกล้ามเนื้อยึด เลนส์บีบ - ดึงปรับทางยาวโฟกัสของเลนส์ตา
แสดงการเกิดภาพบนเลนส์ เมื่อวัตถุอยู่ไกล ภาพตกบนเรตินา มีขนาดเล็ก
เมื่อวัตถุอยู่ไกล้ ภาพตกบนเรตินา มีขนาดใหญ่
ความบกพร่องในการมองเห็น สายตาสั้น - ตาที่มองชัดเฉพาะวัตถุ ที่อยู่ใกล้ๆ
การแก้ไข สวมแว่นตา หรือ เลนส์สัมผัส ที่เป็นเลนส์เว้ามีความยาวโฟกัสเหมาะสม
* ระยะใกล้สุดของคนปกติจะเห็นได้ ชัดเจน คือ 25 ซม. สายตายาว 25 cm * ระยะใกล้สุดของคนปกติจะเห็นได้ ชัดเจน คือ 25 ซม.
การแก้ไข - สวมแว่นตา หรือ เลนส์สัมผัสที่เป็น เลนส์นูนที่มีความยาวโฟกัสเหมาะสม
สรุปและอภิปรายผลการทดลอง
ประโยชน์ที่ได้รับ 1. 2. 3. 4.
ข้อเสนอแนะ 1. ควรศึกษาเปรียบเทียบ 2. ควรศึกษาเปรียบเทียบ 3 ข้อเสนอแนะ 1. ควรศึกษาเปรียบเทียบ 2. ควรศึกษาเปรียบเทียบ 3. ควรนำไปใช้กับ 4. ควรศึกษา 5. ควรศึกษาวิธีการ และหาแนวทาง
เอกสารอ้างอิง
จบการนำเสนอ