ด.ช.ประธาน โสมาสี ม.3/1 เลขที่06 เสนอ คุณครู ทัศนีย์ ไชยเจริญ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ช่วยลูกเตรียมพร้อม... พ.ญ.นัทธ์ชนัน จรัสจรุงเกียรติ
Advertisements

พญ.มณฑา ไชยะวัฒน ศูนย์อนามัยที่4 ราชบุรี
การสัมภาษณ์.
สื่อประกอบการเรียนรู้
ด.ญ.กุลจิรา ยอดมณี เลขที่ 19 ม.3/1
การศึกษารายกรณี.
สร้างสรรค์งานโดย ครูพงศ์ศักดิ์ อินปา
ด.ญ.ปรางค์วลี สีดอกไม้ ชั้น ม.3/2 เลขที่ 15
ชื่อ เด็กหญิง รัตนา ศรีรัตน์ ชั้นม.3/2 เลขที่4
เรื่องไตรสิขาพัฒนาสุขภาพจิต
 การสอนแบบอภิปราย.
สิ่งฟุ่มเฟือย การบริโภค สิ่งจำเป็น.
ความสำคัญของจิตสาธารณะ
การพัฒนาที่ยั่งยืน การพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development) คือ การพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรธรรมชาติเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของประชากรโลก.
สัปดาห์ที่ 6 เรื่อง วิธีการดำเนินงานสุขศึกษา ในสถานที่ต่างๆ
การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
ภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยในสูงอายุ ของรพ.พุทธชินราช
ทัศนคติและพฤติกรรมการเที่ยวกลางคืน
พัฒนาการทางสังคมของวัยรุ่น
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
เพื่อเป็นการทำความเข้าใจตนเองและผู้อื่น พื้นฐานในการสร้างมนุษยสัมพันธ์
การพัฒนานักเรียนโดยครูและโรงเรียน
การวิเคราะห์ปัญหาวัยรุ่นและการช่วยเหลือ
สุขภาพจิต และการปรับตัว
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
อาจารย์สุพรรนี ภู่กำชัย
1. สรร หา 2. พัฒนา 3. รักษา 4. ใช้ให้ตรง ความถนัด.
กรอบทิศทางการพัฒนา เด็กและเยาวชน
การส่งเสริมและป้องกัน ปัญหานักเรียน
โครงการพัฒนารูปแบบการลดทัศนคติการตีตรา/รังเกียจเด็กที่ได้รับผลกระทบจากพ่อแม่ที่ติดเชื้อและเจ็บป่วยด้วยโรคเอดส์ในโรงเรียนระดับประถมศึกษา-มัธยมศึกษาปี
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์....มสธ
พลังพ่อแม่...พลังครอบครัว
รู้สึกอย่างไร เมื่อรับรู้ว่า
ความเป็นมาของกิจกรรมYC ท่ามกลางความวุ่นวายของสังคม และสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว  วัยรุ่นไทยได้รับการครอบงำจากสื่อ วัฒนธรรมจากต่างชาติ
โดย นายแพทย์เกียรติภูมิ วงศ์รจิต รองอธิบดีกรมสุขภาพจิต
Technics in Counseling for Renal Replacement therapy
พลัง อึด ฮึด สู้ อึด...ทนต่อแรงกดดัน วิธีการ : คิดเชิงบวก ควบคุม อารมณ์ ลดความเครียด คลายอารมณ์ ฮึด...มีกำลังใจวิธีการ : self talk , ขอจากคนอื่น , แรงศรัทธา.
ความยากจนกับสังคมไทย ปัญหาและทางออก
เทคนิคการให้คำปรึกษาวัยรุ่น
นายวิเชียร มีสม 1 วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง สิ่งเสพติดให้โทษ เรื่อง สิ่งเสพติดให้โทษ.
ครูพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี การบริหารจัดการ ทรัพยากรการบริการ การบริหารจัดการ ทรัพยากรการบริการ ผู้สอน นางพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี โรงเรียนวังไกลกังวล ผู้สอน นางพัทธนันท์
ความผิดปกติทางเพศ เฟตติชิซึ่ม (fetishism).
ยาเสพติด ยาเสพติด คนรุ่นใหม่ ร่วมต้านภัย เราจะป้องกันยาเสพติด
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
สุขภาพจิตที่ดี โรคจิต โรคประสาท การฝึกนั่งสมาธิ ข้อแตกต่าง โรคจิต
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
นายวิเชียร มีสม 1 วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง สิ่งเสพติดให้โทษ เรื่อง สิ่งเสพติดให้โทษ.
การรักษาและดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะบกพร่องทางจิต
กิจกรรมการจัดการกับ อารมณ์และความเครียด.
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียน ทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และ พัฒนาตนเองได้และถือว่าผู้เรียนมี ความสำคัญที่สุด ดังนั้นในการจัดการ เรียนรู้และการดูแลช่วยเหลือพัฒนาผู้เรียนที่
กฎหมายชุมชนและประเทศชาติ
ความแตกต่างระหว่างวัยรุ่นชายและวันรุ่นหญิง
จัดทำโดย ปฏิภาณ ไชยกุล อดิศร สุดดวง
นางสาวนิตย์ติญา ดวงใจ พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ
ณัชช์ธรณ์ หอมกลิ่นเทียน
เทคนิคการให้คำปรึกษา
ผลกระทบของปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ ก่อนวัยอันควร
การป้องกัน การเสริมสร้างบทบาทองค์ ความรู้แก่ผู้นำทาง ความคิดของเด็กและ เยาวชน การพัฒนาความร่วมมือ ของ ภาคีเครือข่าย การขจัดสิ่งยั่วยุและ อิทธิพลจากสื่อ.
รายงาน เรื่อง ทักษะปฏิเสธทางเพศ โดย เด็กหญิง สมัชญา ใจรักษา เลขที่ 6 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เสนอ คุณครู ทัศนีย์ ไชยเจริญ โรงเรียนวัดพวงนิมิต สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระแก้วเขต.
วิสัยทัศน์การพัฒนาตำบล
จัดทำโดย ชื่อนายฤทธิ์รงค์ ลิ้มม่วงนิล ช่างยนต์ ปวช.1 เลขที่19
สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
การปฏิบัติตนของวัยรุ่น
เด็กชาย นนทวัฒน์ ภูมี ( P’ นัตตี้ )
กลุ่มสาระการเรียนรู้
เด็กปลอด เด็กหญิง ปาริชาติ ด่านณรงค์ ชั้น ม. 3/1 เลขที่ 10 เสนอ คุณครู ทัศนีย์ ไชยเจริญ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ด.ช.ประธาน โสมาสี ม.3/1 เลขที่06 เสนอ คุณครู ทัศนีย์ ไชยเจริญ เด็กปลอด ด.ช.ประธาน โสมาสี ม.3/1 เลขที่06 เสนอ คุณครู ทัศนีย์ ไชยเจริญ

ปัญหาทางสังคม เด็กในชุมชนในสมัยนี้ชอบสูบบุหรี่ ติดเกมส์ ดื่มสุรา ค้ายา

โทษต่อครอบครัว ขาดความรับผิดชอบต่อครอบครัวและญาติพี่น้อง เสียทรัพย์ที่จะต้องซื้อยามาเสพ และรักษาตัว ขาดหลักประกันของครอบครัว ทำงานไม่ได้ ไม่เป็นที่วางใจ ของคนทั่วไป นำความหายนะมาสู่บุตร ภรรยา ญาติพี่น้อง

โทษต่อร่างกายและจิตใจ ทำลายประสาทสมอง จิตใจเสื่อม ซึมเศร้า กังวล เลื่อนลอย และเป็นโรคจิตจากพิษยานั้นๆ เสียบุคลิกภาพ ขาดความสนใจตนเอง ขาดสติสัมปชัญญะ ร่างกายซูบซีด อ่อนเพลีย พิษยาทำลายอวัยวะต่างๆให้เสื่อมลง มีโรคแทรกได้ง่าย ประสบอุบัติเหตุได้ง่าย เพราะการควบคุมทางกล้ามเนื้อและระบบประสาทบกพร่อง

โทษต่อสังคม ไร้เกียรติและเป็นภาระต่อสังคม ทำลายชื่อเสียงตนเองและวงศ์ตระกูล มีโอกาสเป็นอาชญากรประเภทลักขโมยได้ง่ายเนื่องจากมีรายจ่ายสูง

โทษต่อส่วนรวมและประเทศชาติ เป็นภาระและภัยอันตรายต่อผู้อื่น ชุมชนและประเทศชาติ เพิ่มงบประมาณของประเทศในการป้องกันปราบปรามและบำบัดรักษา ถ่วงความเจริญทั้งทางด้านเศรษฐกิจ และวัฒนธรรม

แนวทางการแก้ไข 1. มุ่งพัฒนาตัวบุคคล คือ การดำเนินงานป้องกันปัญหายาเสพติดต้องให้ความสำคัญกับการสร้างศักยภาพ และคุณภาพชีวิตของคน เพื่อให้ความสามารถในการดำเนินชีวิตได้อย่างมีคุณภาพภายใต้แวดล้อมทางสังคม ควรเริ่มต้นจากการเตรียมความพร้อมของพ่อแม่ก่อน คือการเลี้ยงดู การให้การศึกษาเพื่อคุณภาพชีวิต นับเป็นกระบวนการที่สร้างคนให้มีคุณภาพชีวิต 2. กำหนดพื้นที่และกลุ่มประชากรเป้าหมายในการดำเนินงาน คือ การแก้ไขปัญหายาเสพติดมีทัพยากรที่จะดำเนินการค่อนข้างจำกัด ทั้งงบประมาณ และบุคลากร ดงนั้น จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งในการกำหนดพื้นที่เป้าหมาย และประชากรเป้าหมายที่จะเข้าดำเนินการให้ชัดเจน

แนวทางการแก้ไข การแก้ไขเด็กติดยาเสพติด ต้องการกำลังใจจาก ผู้ปกครองและครูเป็นอย่างมาก ฉะนั้น ผู้ปกครองและครูจึงมีส่วนสำคัญในการช่วยเด็กของตนให้หายจากการติดยาเสพติดซึ่งมีวิธีปฏิบัติดังนี้

วิธีการแก้ไข สร้างบรรยากาศในครอบครัวให้มีความสุข พ่อแม่ควรปรองดองกัน จะทำให้เด็ก มีความมั่นคงทางจิตใจ รู้สึกอบอุ่น พ่อแม่และครูต้องให้ความเป็นกันเองกับเด็ก จะทำให้เด็กแน่ใจว่าผู้ใหญ่พยายาม ที่จะเข้าใจเขาพร้อมที่จะช่วยเหลือเขาเด็กจะรู้สึกเป็นกันเองที่จะพูดคุยถึงปัญหา ของตนโดยไม่มีการซ่อนเร้นและควรพูดจาซักถามสาเหตุ เวลาที่เสพติดนานแค่ไหน อย่าประนามดุด่าเด็กและควรหาทางช่วยเหลืออย่างรีบด่วน อธิบายให้เด็กเข้าใจและรู้โทษตามกฎหมายที่จะได้รับจากการใช้ยาเสพติด ให้เด็กได้รู้โทษของยาเสพติด ร่วมมือกับครูประจำชั้นเพื่อหาทางแก้ไข เช่นจัดกลุ่มอภิปรายกับเด็กนักเรียน ถึงพิษภัยและโทษของยาเสพติด ครูที่สนใจปัญหาต่างๆเหล่านี้และรับฟังเด็กด้วยท่าทีที่เห็นใจ จะช่วยเด็กได้อย่างมาก