การเขียน STORYBOARD STORYBOARD.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สตอรี่บอร์ด (Story board)
Advertisements

รายละเอียดวิชา ง การงานพื้นฐาน4(คอมพิวเตอร์2)
การใส่ลูกเล่นให้กับงานนำเสนอ
รูปแบบของ Windows Movie Maker
นักศึกษาทุกคน วิชา การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ทางการแพทย์
Mr.Ukrit Marang Chapter 1 : Multimedia Mr.Ukrit Marang Multimedia Chapter 1.
ขั้นตอนการออกแบบมัลติมีเดีย Multimedia Design Step
พิมพ์ชื่อบริษัทหรือหน่วยงาน
การเขียนผังงาน.
รายละเอียดของการทำ Logbook
อ.กิตติพงศ์ เซ่งลอยเลื่อน อาจารย์พิเศษ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
การสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book)
หลักการจัดทำสตอรี่บอร์ดสื่อมัลติมีเดีย
ตัวอย่าง STORYBOARD ภาพรวม
องค์ประกอบของมัลติมีเดีย
องค์ประกอบและประโยชน์ของมัลติมิเดีย
โครงการ การสร้างสื่อผลิต MV ( Music Video )
หลักการออกแบบของ ADDIE model ADDIE model
นายชะเวรินทร์ อินสุวรรณ เลขที่ 12 ม.5/4
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE MODAL
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสื่อประสม
หนังสือไร้กระดาษ.
การผลิตบทเรียนช่วยสอน (CAI)
บทที่ 3 พื้นฐานการเขียนโปรแกรม Visual Basic
และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง
การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยในการวิเคราะห์ข้อมูล
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
อาจารย์มณฑิรา พันธุ์อ้น
รูปแบบของเว็บเพจ. รูปแบบของเว็บเพจ รูปแบบของเว็บเพจ 1. เว็บเพจในแนวตั้ง.
ปฏิบัติการที่ 3 : การสร้างโฮมเพจอย่างง่าย
Multimedia การบรรยายทางวิชาการ เรื่อง
การนำเสนอสื่อประสม.
การใช้งานPowerPoint รู้จักกับ Microsoft PowerPoint2003ใบงานที่1
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
รู้จักกับMicrosoft PowerPoint
ขั้นตอนวิธี (Algorithm)
การใช้โปรแกรมประยุกต์ ด้านการนำเสนองาน
ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
การออกแบบสื่อการเรียนรู้
การออกแบบฐานข้อมูลและการบริหารธุรกิจ
ง30216 การสร้างเกมคอมพิวเตอร์
เรื่อง ซอฟต์แวร์ตัวเก่ง
กิจกรรมที่ 2 ซอฟต์แวร์ประยุกต์
รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene
การใช้งานโปรแกรม Microsoft Power Point
ทบทวนการออกแบบสื่อ multimedia Powerpoint Templates.
บทที่ 4 Power Point ขั้นตอนการทำสไลด์ รายละเอียดหน้าจอของ Power Point
ระบบปฏิบัติการ ( Operating System : OS )
Background / Story Board / Character
โปรแกรมฐานข้อมูลที่นิยมใช้
สำหนักคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
โดย นายธวัชชัย ฝ่ายพลแสน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การนำเสนองาน.
องค์ประกอบ และประโยชน์ของมัลติมีเดีย
การถ่ายวีดีโอ.
บทที่8 การเขียน Storyboard.
การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์
WBI คืออะไร   WBI หรือ Web Base Instruction เป็นการจัดกิจกรรมการสอนใน รูปแบบของ Web Knowledge Based โดยใช้เทคโนโลยีทางของ Webpage เป็นศูนย์กลางในการนำเสนอเนื้อหา.
แนะนำการเขียนโปรแกรมภาษา C Introduction to C Programming Language
การสร้างสื่ออิเล็กทรอนิกส์ด้วยโปรแกรม CONTERT AUTHORING
เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาการใช้โปรแกรมกราฟิก
การเขียนผังงาน ผังงาน (Flowchart)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
เริ่มใช้งาน Microsoft Office
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE Model
แทรกไฟล์มัลติมีเดียในสไลด์. การแทรกไฟล์เสียง แทรกเสียงจากไฟล์ 1. คลิกที่แท็บหน้าแรก เลือก สร้างภาพนิ่ง เลือก เค้าโครง ที่ชื่อว่า เฉพาะชื่อเรื่อง 2. คลิกแท็บ.
สื่อการสอนการเขียนเว็บเพจ ด้วยภาษา HTML
หลักการออกแบบของ ADDIE model
ซอฟต์แวร์ (software) จัดทำโดย นาย ยุทธพงศ์ คำยอง
เทคนิคการใช้ โปรแกรมเพาเวอร์พอยต์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเขียน STORYBOARD STORYBOARD

การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard) การเขียนสตอรี่บอร์ดเป็นขั้นตอนของการเตรียมการนำเสนอข้อความ ภาพ รวมทั้ง สื่อในรูปของมัลติมีเดียต่างๆ ลงในกระดาษ เพื่อให้การนำเสนอข้อความ และสื่อในรูปแบบต่างๆ เหล่านี้เป็นไปอย่างเหมาะสมบนหน้าจอคอมพิวเตอร์ต่อไป ขณะที่ผังงานนำเสนอลำดับ และขั้นตอนของการตัดสินใจ สตอรี่บอร์ดนำเสนอเนื้อหา และลักษณะของการนำเสนอ ขั้นตอนการสร้างสตอรี่บอร์ดรวมไปถึงการเขียนสคริปต์ (ซึ่งสคริปต์ในที่นี้ คือ เนื้อหา) ที่ผู้ใช้จะได้เห็นบนหน้าจอซึ่งได้แก่ เนื้อหา ข้อมูล คำถาม ผลป้อนกลับ คำแนะนำ คำชี้แจง ข้อความเรียกความสนใจ ภาพนิ่ง และภาพเคลื่อนไหว ฯลฯ

Story board Storyboard คือ การสร้างภาพให้เห็นลำดับขั้นตอนตามเนื้อเรื่องที่ต้องการ โดยเฉพาะการสร้างภาพเคลื่อนไหว รายละเอียดที่ควรมีใน Storyboard คำอธิบายแต่ละสื่อที่ใช้ (ข้อความ รูปภาพ ภาพเคลื่อนไหว เสียง วีดิโอ) การเปลี่ยนภาพ (Transition) เครื่องมือหรือโปรแกรมที่ใช้งบประมาณ คำอธิบายเพิ่มเติม (Comments) ระบบนำทาง (Navigation) เวลาที่ใช้ ภาพร่าง หลายเลขหน้าจอ

การจัดทำ Storyboard ตัวอย่างเช่นในหัวข้อ Presentations จากโฟลว์ชาร์ตก็เป็นการแจงแจงรายละเอียดลงไปว่าในส่วนนี้ประกอบด้วยภาพ ข้อความ ภาพเครื่องไหว มีเสียงหรือเพลงประกอบหรือไม่ และมีการเรียงลำดับการทำงานอย่างไร มีการวางหน้าจออย่างไรรวมทั้งการกำหนดแหล่งของข้อมูล เช่น ภาพและเสียงว่าได้มาอย่างไรจากแหล่งไหน การเตรียมข้อมูลสำหรับ Storyboard ข้อมูลสำหรับ Storyboard อาจมีทั้งภาพ เสียง ข้อความ ภาพเคลื่อนไหว (Animation Movies) หรืออื่นๆ ซึ่งจะต้องมีการจัดเตรียมขึ้นมาก่อนที่จะนำไปใส่โปรแกรม มีรายละเอียดที่เกี่ยวข้องดังนี้

การจัดเตรียมภาพสำหรับโปรแกรม ข้อมูลต่าง ๆ อาจจะมาจากการวาดด้วยโปรแกรม Graphic Editor เช่น โปรแกรม PC Paint Brush ที่มี Microsoft Windowsหรืออื่น ๆ โปรแกรม Authoring System บางตัวจะมีคำสั่งสำหรับการวาดรูปหรือในส่วนของ Graphics Editor ไว้ให้ด้วยทำให้ทำงานได้สะดวกขึ้น แต่อย่างไรก็ดีโปรแกรมแต่ละตัวมีความสามารถแตกต่างกัน ดังนั้นอาจต้องมีการใช้โปรแกรมหลายตัวช่วยกัน การทำงานภายใต้ระบบ Microsoft Windows ทำให้สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลกันได้โดยง่าย นอกจากนี้อาจจะนำเข้ามาจากแหล่งอื่น เช่น การ Scan จากหนังสือหรือวารสารด้วยการใช้เครื่อง Scanner หรืออาจนำมาจากกล้องถ่ายวีดีโอ ในกรณีนี้จะต้องมีการ์ดพิเศษที่ทำหน้าที่จับสัญญาณวีดีโอเข้ามาในเครื่องคอมพิวเตอร์ เรียกว่าการ์ด Video Capture เช่น การ์ด Video Blaster ของบริษัท Creative Technology ด้วยวิธีนี้ทำให้สามารถนำภาพต่าง ๆ เข้ามาใช้ในโปรแกรมได้อย่างมากมาย

การจัดเตรียมเสียง การบันทึกเสียงเข้ามาในเครื่องคอมพิวเตอร์นั้น เครื่องคอมพิวเตอร์จะต้องมีการ์ด Sound Generator Card เช่น Sound Blaster Card การ์ดนี้มีความจำเป็นในการบันทึกเสียง ที่มีการแปลงสัญญาณเสียงเป็นข้อมูลคอมพิวเตอร์และทำงานในทางตรงข้ามเมื่อโปรแกรมเรียกใช้แฟ้มเสียงที่จะให้ออกลำโพงในเพื่อให้ความสัมพันธ์กับการแสดงภาพการนำเสียงเข้าไปใช้ในบางครั้งอาจใช้วิธีให้โปรแกรมควบคุมการเล่นเครื่อง CD สัมพันธ์กับเนื้อเรื่องก็ได้โปรแกรม Authoring System เคลื่อนไหวการนำภาพเคลื่อนไหวเข้ามาใช้กับโปรแกรมอาจทำได้หลายวิธี เช่น 1. การต่อเครื่องเล่นเลเซอร์เข้ากับคอมพิวเตอร์ แล้วใช้โปรแกรมควบคุมการเล่นให้สัมพันธ์กับเนื้อหา 2. การจับภาพจากวิดีโอเข้ามา เป็นข้อมูลประเภท Movied file โดยมีการกำหนดเป็นจำนวนเฟรมต่อวินาที ทำได้ด้วยโปรแกรม เช่น Microsoft Video For windows จากนั้นจึงเรียกใช้โฟล์ด้วยโปรแกรม Video Capture

สร้างภาพเคลื่อนไหว (Animation File) ขึ้นใช้เอง เช่น จากโปรแกรม Autodesk Animation, 3D Studio และอื่น ๆ ที่สามารถทำภาพเคลื่อนไหวทั้งสองและสามมิติโปรแกรม Authoring System ส่วนใหญ่จะมีความสามารถทำภาพ Animation เป็นพื้นฐานอยู่แล้ว ข้อมูลที่เป็นข้อความอาจจะป้อนลงไปใน Authoring Programหรือ Power Point การป้อนข้อมูลดังกล่าวนี้ อาจจะป้อนโดยตรงหรือบางโปรแกรมสามารถอ่านข้อมูลจาก Text File เข้าไปใช้ในงานได้

ตัวอย่าง Storyboard

Title : ……………………… From :………………Link to frame :……….. File Name : …………………… Other : …………………………….…… Picture : ………………………………… narrations : ………………………………… ………………………………………………. Sound : ………………………………… Video : ………………………………… Animation : ……………………………