การพัฒนาคุณภาพงานวิจัย ภาควิชาสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เกณฑ์การประเมินของ สกว.
Advertisements

7.1-1 ร้อยละผู้ที่สอบผ่านใบประกอบวิชาชีพ
ประเด็นเน้นหนัก โครงการส่งเสริมและพัฒนาวิสาหกิจชุมชน 2550
การจัดสรรเงินเหมาจ่ายรายหัว สำหรับหน่วยบริการในสังกัด สป.สธ. 2556
04/04/60 การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดทำงบประมาณจากเงินรายได้ของมหาวิทยาลัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา
รายงานประจำปี การประเมินคุณภาพ 2551 ปีการศึกษา/ปีงบประมาณ
รายงาน ผลการประเมินคุณภาพ ประจำปี 2553
การพัฒนาคุณภาพงานวิจัยของ ภาควิชาตามเกณฑ์ สกว. จาก ผลการประเมินภาควิชาฯ ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะ แพทยศาสตร์ 30 กรกฎาคม 2553.
การพัฒนาคุณภาพ งานวิจัยตามเกณฑ์ ของ สกว. ภาควิชากุมารเวชศาสตร์
การพัฒนาคุณภาพงานวิจัยตามเกณฑ์ สกว.
การพัฒนาคุณภาพงานวิจัยของภาควิชา ตามเกณฑ์ สกว. จากผลการประเมินภาควิชา
วาระที่ 4.1 องค์ประกอบคณะกรรมการ/คณะทำงาน ภายใต้อปสข.
การประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 3 พฤษภาคม 2554.
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหาร มจธ.
การอบรม อสม. รุ่น 2 เป้าหมาย อสม.รุ่น 1 - อสมช. ด้านโรคความดันโลหิตสูง
กลยุทธการผลิตและการใช้เมล็ดพันธุ์ข้าวของประเทศไทย
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
การติดตามประเมินผลการ ปฏิบัติราชการ (Site Visit II) รอบ 12 เดือน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2551 ณ ห้องประชุมลำพอง 2 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
มาตรฐานที่ 3 มาตรฐานด้านการ บริการวิชาการ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มีจำนวนกิจกรรม / โครงการ บริการวิชาการและวิชาชีพ ในปีการศึกษา 2548 จำนวน 27 กิจกรรม ทั้งนี้
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การพัฒนาคุณภาพ งานวิจัย ของ ภาควิชาศัลยศาสตร์ ตามเกณฑ์ สกว.
พันธ กิจ สร้างและสนับสนุนงานวิจัยทาง อายุรศาสตร์ ที่มีคุณภาพและตอบสนองต่อ ปัญหาของประเทศโดยเฉพาะ ปัญหาทางสาธารณสุขใน ภาคใต้
การพัฒนาคุณภาพงานวิจัยของภาควิชาตามเกณฑ์ สกว. จากผลการประเมินภาควิชา
นโยบาย ฝ่ายการศึกษาหลังปริญญา
รายงานประจำปี การประเมินคุณภาพ 2551 ภาควิชาวาริชศาสตร์ คณะ ทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลาน ครินทร์ 23 มิถุนายน 2552.
การดำเนินงานอาชีวเวชศาสตร์: แพทย์ที่ผ่านการอบรม
ผลและแผนการดำเนินงานอนามัยการเจริญพันธุ์
K hon K aen U niversity O ffice of Q uality M anagement ผลลัพธ์ IQA_KKU 2552.
หมวด 7 result 1. ECPE มิติที่ 7.1 ด้านการเรียนรู้ของผู้เรียน 2.
4 เมษายน 2560 หมวด 7 result.
“การสนับสนุนเครือข่ายให้มีการพัฒนาการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555” โดย ดร.นายแพทย์อนุพงค์ สุจริยากุล ผู้อำนวยการสำนักงานควบคุมป้องกันโรค.
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
น้องเลี้ยง : นายสุริโย ชูจันทร์ หน่วยงาน : สคร.ที่ 11 นครศรีธรรมราช

1 การสัมมนาผู้ตรวจ ประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2552 วันพฤหัสบดีที่ 21 ตุลาคม 2553 ณ ห้องประชุม 3222 อาคารสิริคุณากร.
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
ทิศทางการพัฒนาวิทยาเขตขอนแก่น
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
สรุปการประชุม เขต 10.
สำนักประสานการพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนลักษณะสำคัญขององค์กร :
ผลการดำเนินงาน ตค.50 – มค.51. รหัส ตัวชี้วัดเกณฑ์ผลการดำเนินงานจังหวัด เป้าหมาย(Y)ผลงาน (X)อัตร า (Z) 1001 ประชาชนที่มี หลักประกันสุขภาพ ได้รับบริการ.
1. เสือปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร ในการทำวิจัยR to R
การสัมมนาการประกันคุณภาพการศึกษา เรื่อง “การพัฒนาคุณภาพนักศึกษาด้านวิชาการ” วันที่ 12 กันยายน 2552 ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ความเป็นมา จัดตั้งตามคำสั่งกรมส่งเสริม การเกษตรที่ 384/2548 ตั้งสำนักงานเลขานุการ คณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจ ชุมชน และเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน เพื่อ รองรับภารกิจตามพระราชบัญญัติ
การประกันคุณภาพ (Quality Assurance : QA)
แผนพัฒนาฝ่ายการศึกษาระดับหลังปริญญา และการศึกษาต่อเนื่อง
โดย นายแพทย์เกียรติภูมิ วงศ์รจิต รองอธิบดีกรมสุขภาพจิต
ระบบคุณภาพมหาวิทยาลัยมหิดล
งานวิจัยและวิเทศสัมพันธ์
คณะกรรมการพัฒนาวิชาการและงานวิจัย
การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ ปี 2557
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
นพ.นิทัศน์ รายยวา 3 ตุลาคม 2556
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
การพัฒนา คป.สอ/รพ.สต.ติดดาว
โครงการลดปัญหาสุขภาพจากระบบสืบพันธุ์
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2555 เดือนมกราคม
การบริหารงานวิชาการ : ในมิติของการประเมินผล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาคุณภาพงานวิจัย ภาควิชาสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา การพัฒนาคุณภาพงานวิจัย ภาควิชาสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา รศ.พญ.จิตเกษม สุวรรณรัฐ 30 กรกฏาคม 2553

Plan: แผนปฏิบัติการด้านการวิจัย ภาควิชาสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา ยุทธศาสตร์ ผลักดันงานวิจัยชนิด R2R, Epidemiology, Medical education, prenatal diagnosis and intervention research สนับสนุนงานวิจัยที่เป็น multicenter ทั้งระดับชาติและนานาชาติ โดยเน้นว่างานอะไรก็ตามที่ภาควิชาทำได้ดีในแต่ละเรื่องหรือทำเป็นแห่งแรกของประเทศต้องมีวิจัยกำกับเสมอ Action plan จัดสรรเวลาของอาจารย์สำหรับงานวิจัย สร้างบรรยากาศการวิจัยให้เข้มแข็ง ยกระดับงานวิจัยของแพทย์ใช้ทุน/แพทย์ประจำบ้าน และแพทย์ประจำบ้านต่อยอด มุ่งเป้าตีพิมพ์ระดับนานาชาติ สนับสนุนการทำงานเป็นทีม ให้ทุนเริ่มต้นที่คล่องตัว จัดหาผู้ช่วยวิจัย พัฒนากลไกเพื่อยกระดับคุณภาพงานวิจัย ได้แก่ สถิติชั้นสูง การนำเสนอใน peer group ทั้งภายในและภายนอก การนำเสนอในที่ประชุมวิชาการระดับนานาชาติ การติดตามความก้าวหน้า การผลักดันให้ขอทุนวิจัยภายนอก การเขียน manuscript ตัวชี้วัด จำนวนอาจารย์ที่ active งานวิจัย งานวิจัยที่ทำโดยทีม การนำเสนอผลงานวิจัยในเวทีนานาชาติ ผลงานวิจัยตีพิมพ์ระดับนานาชาติ และสำหรับ พชท/พจบ ต้องได้รับการตีพิมพ์ 100% ภายใน 2 ปี รางวัลผลงานวิจัย พชท พจบ พจบ ต่อยอด จำนวนทุนวิจัยจากภายนอกภาค/คณะ /มหาวิทยาลัย

PLAN: แผนการพัฒนา ผลักดันงานวิจัยทุกชนิดได้แก่ R2R, epidemiology, medical education, prenatal diagnosis and intervention research เพื่อประโยชน์ในการพัฒนาและแก้ไขปัญหาหลัก สนับสนุนงานวิจัยที่เป็น multicenter ทั้งระดับชาติและนานาชาติ โดยเน้นว่างานอะไรก็ตามที่ภาควิชาทำได้ดีในแต่ละเรื่องหรือทำเป็นแห่งแรกของประเทศต้องมีวิจัยกำกับเสมอ สร้างเครือข่ายความร่วมมือกับสถานบริการในพื้นที่ และแหล่งสนับสนุนทุนวิจัย

DO: การดำเนินการพัฒนาระบบและกลไกสนับสนุนการผลิตงานวิจัย สร้างบรรยากาศการทำวิจัยให้เข้มแข็ง Research meeting เดือนละ 1 ครั้ง 2. สนับสนุนและยกระดับงานวิจัยของแพทย์ใช้ทุนแพทย์ประจำบ้านให้มีคุณภาพสูง จัดอาจารย์ที่ปรึกษาดูแลตั้งแต่เริ่มต้นจนเสร็จสิ้น จัดเวทีนำเสนอ research proposal, progress report, oral presentation ( คณะฯ, ราชวิทยาลัยฯ) มีอาจารย์ที่เชี่ยวชาญด้านระบาดวิทยาให้คำปรึกษา มีรางวัลสนับสนุนให้กับ พชท/พจบ ที่ได้รับรางวัล สนับสนุนให้ตีพิมพ์มุ่งเป้าระดับนานาชาติ 3. หน่วยเวชสถิติของภาควิชามีระบบฐานข้อมูลผู้ป่วยในสูตินรีเวช 4. จัดเจ้าหน้าที่ธุรการ 1 คน รับผิดชอบเกี่ยวกับงานวิจัยของอาจารย์และพชท/พจบ 5. ภาควิชาส่งเสริมการวิจัยกับองค์กรภายนอก ทั้งระดับประเทศและนานาชาติ RIS HPVTT and HPV VVAPO, Cancer epidemiology research program (CERP), Unit of infection and cancer (UNIC), Catalan Institute of Oncology, Barcelona, SPAIN CRCN Multicenter (HPV vaccine) ร่วมกับเวชศาสตร์เขตร้อน ม.มหิดล ภาคสูติฯจุฬา ม.เชียงใหม่ U. of Malaya (Malaysia)

DO: พัฒนากลไกเพื่อยกระดับคุณภาพงานวิจัย สนับสนุนการเข้าอบรมสถิติชั้นสูง การนำเสนอผลงานในที่ประชุมวิชาการ ทั้งภายในและภายนอกคณะ การนำเสนอในที่ประชุมวิชาการระดับนานาชาติ การผลักดันให้ขอทุนวิจัยภายนอก การเขียน manuscript เพื่อส่งตีพิมพ์ระดับนานาชาติ

Check: ผลการดำเนินงาน เกณฑ์ สกว. เกณฑ์ SAR

ผลงานวิจัยตีพิมพ์ On going research รวม 74 เรื่อง ( อาจารย์ 59 , พชท.พจบ. 11, Fellow 1, พยาบาลและจนท. 3, เป็น Multicenter 9 )

ผลการประเมินคุณภาพงานวิจัย โดยสำนักงานกองทุนสนับสนุนงานวิจัย (สกว.) 2550-2551

การประเมินคุณภาพงานวิจัย โดยสกว. ปี 2550-2551 รหัสบทความ ประเภทบทความ จำนวนบทความ 2550 2551 รวม 01 วารสารวิชาการระดับนานาชาติที่อยู่ในฐานข้อมูล Science Citation Index ของ Institute for Scientific Information (ISI) 10 6 16 02 วารสารวิชาการระดับนานาชาติที่ไม่อยู่ในฐานข้อมูลของ ISI และมีคุณสมบัติตามเกณฑ์ของคณะอนุกรรมการเกี่ยวกับการส่งเสริมและพัฒนางานวิจัยของ สกอ. 5 11 27

ประเมินตามตัวชี้วัด I. Equivalent International Journal Papers / Faculty member II. Impact Factor / Faculty member III. Equivalent International Journal Papers IV. Impact factor

ผลการประเมินตามตัวชี้วัดเฉลี่ยระหว่าง ปี 2550-2551 ชื่อตัวชี้วัด (น้ำหนักดัชนี) ภาพรวมของสาขาวิชา ผลประเมิน mean max min SD คะแนน ระดับ TRF-index Rate 1. Equivalent international Journal papers/ faculty member (30%) 0.372 0.707 0.086 0.204 0.373 4 2.9 3 2. Impact factor/ faculty member (20%) 0.453 1.11 0.094 0.293 0.329 2 3. Equivalent International Journal papers (30%) 12.615 24.74 2.058 7.528 8.193 4. Impact factor (20%) 14.599 38.83 3.607 10.127 7.241

ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพ (rate) ความหมาย ระดับ 5 Excellent ระดับ 4 Very good ระดับ 3 Good ระดับ 2 Fair ระดับ 1 To be improved ระดับ N/A Not applicable

เสนอโครงการเพื่อรับการสนับสนุนงบประมาณ สกว. 40,000 บาท มหาวิทยาลัย 40,000 บาท

ผลการประเมินตามเกณฑ์ สกว. โดยคณะแพทยศาสตร์ ปี พ.ศ. 2548-2552

KPI 1 KPI 2 4 2 KPI 3 KPI 4 4 4

KPI อื่นๆตามเกณฑ์ SAR

ร้อยละของงานวิจัยที่ตีพิมพ์เผยแพร่ ต่อจำนวนอาจารย์ประจำ

SAR: score 1: 1-54,999; score 2: 55,000-79,999; score 3: > 80,000 เงินสนับสนุนงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ จากภายในและภายนอกสถาบัน ต่อจำนวนอาจารย์ประจำ SAR: score 1: 1-54,999; score 2: 55,000-79,999; score 3: > 80,000

ร้อยละของอาจารย์ประจำที่ได้รับทุนวิจัยจากภายในและภายนอกสถาบัน SAR: Internal: score 1: 1-34%; score 2: 35-49%; score 3: > 50% External: score 1: 1-24%; score 2: 25-39%; score 3: > 40%

ร้อยละของบทความวิจัยที่ได้รับการอ้างอิงต่ออาจารย์ประจำ SAR: score 1: 1-14%; score 2 15-19%; score 3: > 20%

จำนวนรางวัลที่ได้รับในการนำเสนอปากเปล่า ของพชท/พจบ/พจบ ต่อยอด

รางวัลที่ได้รับจากงานวิจัยของอาจารย์ ปี 2552 ผศ.นพ.จิตติ หาญประเสริฐพงษ์ Young Scientist Award Young Gynecologist Award

Strength and Weakness Strength Weakness ภาควิชาฯ คณะแพทยศาสตร์ และ มหาวิทยาลัย สนับสนุนการทำวิจัยอย่างเต็มที่ มีกองทุนอย่างเพียงพอ มีความจำกัดเรื่องเวลา จัดสรรเวลาให้ทำวิจัยได้ ภาควิชามีระบบฐานข้อมูล electronic และรายงานประจำปีการบริการผู้ป่วยในทุกราย ตั้งแต่ปีพศ. 2532 อาจารย์รุ่นใหม่ยังขาดประสบการณ์ในการทำวิจัย จัดอาจารย์อาวุโสดูแลรุ่นเยาว์ จัดผู้ช่วยวิจัยในระยะเริ่มแรก ภาควิชาฯมียุทธศาสตร์และการดำเนินการที่ดี อาจารย์มีศักยภาพสูง หลายท่านมีเครือข่ายระดับนานาชาติ งบประมาณสนับสนุนจากคณะฯในการนำผลงานวิจัยเสนอในการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ ไม่เพียงพอที่จะดึงดูดให้อาจารย์ไปนำเสนอ

ACT:จะพัฒนาต่อไปอย่างไร?

แนวทางการพัฒนาต่อไป ผลักดันต่อเนื่องตามยุทธศาสตร์ภาควิชาฯ มาตรการเพิ่มเติม กำหนด theme งานวิจัยของภาควิชาฯ กำหนดข้อตกลงบทบาทระหว่างอาจารย์ที่ปรึกษากับแพทย์ประจำบ้าน/แพทย์ประจำบ้านต่อยอด

1. กำหนดทิศทางงานวิจัยของภาควิชาฯ การลดอัตราตายมารดาและทารกในพื้นที่ชายแดนภาคใต้ การวินิจฉัยก่อนคลอดเพื่อลดอัตราทารกพิการและโรคธาลัสซีเมียชนิดรุนแรง การควบคุมและป้องกันโรคมะเร็งปากมดลูก การวินิจฉัยและการรักษาพยาบาลความก้าวหน้าเชิงลึกในด้าน reproductive medicine และ oncology

2. บทบาทของอาจารย์ที่ปรึกษาเรื่องงานวิจัย มีข้อตกลงระหว่างอาจารย์และพชท/พจบ/พจบ ต่อยอด มุ่งเน้นระดับนานาชาติที่มี Impact factor สูง

ผลที่คาดว่าจะได้รับ มีงานวิจัยเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ผลงานวิจัยตีพิมพ์ระดับนานาชาติเพิ่มขึ้น ผลงานวิจัยได้รับตีพิมพ์ในวารสารที่มี impact factor สูง มากขึ้น ผลการประเมินคุณภาพงานวิจัยตามเกณฑ์ สกว. เพิ่มขึ้นเป็นระดับ 4 ภายในปี 2556

THANK YOU