20 พฤษภาคม 2548.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หน่วยงานจักษุกรรม รพ.ค่ายวชิราวุธ.
Advertisements

การวิเคราะห์และใช้รหัส ICD ให้ได้ผลประโยชน์สูงสุด
โครงการรณรงค์การจัดการสิ่งแวดล้อม
การศึกษาการใช้ Tienam ในผู้ป่วยโรคติดเชื้อภายในโรงพยาบาล
Sulperazon.
ประเมินข้อมูลการใช้ยา
ประชุมคณะทำงานและคณะ เลขาฯ การจัดทำรายงาน UNGASS ธันวาคม 2550.
ความน่าจะเป็น (Probability)
รายงานอุบัติเหตุขนส่ง ปี 2552 โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ โรงพยาบาลหาดใหญ่
QA patient safety ภาควิชาจักษุวิทยา.
แนวทางการลด Hospital stay readmission, waiting/cycle/turn around time
หอผู้ป่วยอายุรกรรมชาย1
การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ
ACCURACY IN DIAGNOSIS ACUTE APPENDICITIS IN BUDDHACHINNARAJ HOSPITAL
งานวิจัยเรื่อง ระยะเวลาและอัตราการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะในผู้ป่วยที่คาสายสวนปัสสาวะของโรงพยาบาลพุทธชินราช.
ปัจจัยที่ทำให้ผู้ป่วยใน ICUติด LRI จาก ICU ของโรงพยาบาลพุทธชินราช
การประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 3 พฤษภาคม 2554.
การดำเนินการปรับปรุงระบบสารสนเทศ - ๑
กิจกรรมพัฒนาและประกันคุณภาพงานครั้งที่ 70
PCT กุมารเวชกรรม รพ.เชียงรายฯ
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
หัวหน้ากลุ่มโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
รางวัล R2R ดีเด่นระดับตติยภูมิ โดยสำนักวิจัยระบบสาธารณสุข
แนวทางการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
ความคิดเห็นของข้าราชการเกี่ยวกับ สวัสดิการการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2546
การสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อ
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
การดูแลผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยเอดส์ ด้วยโปรแกรม HIVQUAL-T
โรงพยาบาลท่าม่วง อำเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี
การใช้ข้อมูลจากโปรแกรม NAP
การติดตามการตรวจ CD4 ใน Asymtomatic patient (CD4 award)
25/07/2006.
การส่งเสริมผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์รายใหม่เข้าสู่ระบบการดูแลรักษา
1. ชื่อผลงาน: ส่งเสริมการเข้าถึงบริการอย่างเป็นมิตร
การพัฒนางานคุณภาพงานเอดส์
ระบบบริการดี ตรวจซีดีโฟร์ ครบตามมาตรฐาน
ผลการเฝ้าระวัง และป้องกันความล้มเหลวในการรักษาในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา โดย นส.จาฤดี กองผล, นางละมัย ช่วยแดง พยาบาลประจำคลินิกยาต้านไวรัสโรงพยาบาลระโนด.
บริบาลเภสัชกรรม รวดเร็วปลอดภัย คลินิกเด็กหัวใจสีเหลือง.
นสพ. วารี จุลเกตุ รหัส นสพ. วีรพรรณ ปรางค์เจริญ รหัส
ชื่อโครงการ.
กองทุนสมทบ ค่าบริการการแพทย์แผนไทย
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
นโยบายการป้องกัน การถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก สำหรับประเทศไทย พ
การเลื่อนตำแหน่งสายสนับสนุน
ชนิดของมะเร็งของผู้ป่วยมะเร็งท่อน้ำดี และพฤติกรรมการบริโภคของผู้ป่วยมะเร็งท่อน้ำดี โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์อุบลราชธานี อาจารย์รัตนา เล็กสมบูรณ์ สัดส่วนการทำงาน.
การตรวจเลือดเอชไอวี แบบทราบผลในวันเดียว
ผลงานเดือนเม.ย.-ธ.ค.56 ถึงเดือน ม.ค.57
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 เดือน กรกฎาคม 2556 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
แนวทางการปฏิบัติงานตามมติคณะรัฐมนตรี เรื่องการให้สิทธิ(คืนสิทธิ)ขั้นพื้นฐานด้านสาธารสุขกับบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิ หิรัญญา ปะดุกา กลุ่มประกันสุขภาพ.
แนวทางการบันทึก และตรวจประเมินคุณภาพ การบันทึกเวชระเบียน ผู้ป่วยนอก
สิ่งประดิษฐ์ตู้ส่องสภาพผ้าแบบประหยัด
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
สาขาโรคมะเร็ง.
การพัฒนาการดำเนินงาน Service Plan เขตบริการสุขภาพที่ 1 สาขาตา
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน
ชื่อผู้วิจัย: นางสาวเมธิกา ชาพิมล
แนวทางปฏิบัติในการขอรับค่าใช้จ่าย เพื่อบริการสาธารณสุข ปี 2551 ปี 2551 เอกสารหมายเลข 1.
ชื่อผู้วิจัย นายอภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
แผนการดำเนินงาน หน่วยงานการพยาบาลวิสัญญี
การพัฒนาระบบการนิเทศการสอน ปีการศึกษา ผู้วิจัย : อนันต์ แก้ว ยานะ ปีการศึกษา : ผลการ วิจัย พบว่า กลุ่มตัวอย่างที่เข้ารับการ นิเทศส่วนใหญ่แล้วจะเลือกใช้
การล้างมือ (hand washing)
รายงานการประเมินตนเอง 4.3 ช. การดูแลผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับ โรงพยาบาล ประจำปีงบประมาณ 2554.
SEPSIS.
การทดลองใช้เอกสารประกอบการเรียน ในวิชาบัญชีเบื้องต้น 2
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 เดือน พฤศจิกายน 2555 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

20 พฤษภาคม 2548

1. ผลการรักษาย้อนหลัง 3 ปี ของ 3 โรคยาก (ระดับ tertiary care) Age - related macular degeneration (AMD) Cytomegalovirus retinitis (CMVR) Submacular hemorrhage results ที่ดีขึ้น การลดอัตราการติดเชื้อ (endophthalmitis) ในผู้ป่วยที่ผ่าตัดต้อกระจก 2. แนวทางการปรับปรุงการรักษาโรคที่ภาควิชาอยากทำ..เพื่อให้ได้

แผนพัฒนาสู่ความเป็นเลิศด้านจอประสาทตา (Retina Excellent Center) หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ 1. เพื่อยกระดับงานด้านจอประสาทตาสู่ความเป็นเลิศใน ระดับประเทศ 2. เพื่อให้การบริการรักษาโรคจอประสาทตาระดับตติยภูมิทั้งหมด ของภาคใต้ 3. เพื่อเป็นศูนย์กลางการเรียนการสอนและวิจัยด้านจอประสาทตา ของภาคใต้

กลยุทธ์/วิธีปฏิบัติ 1. งานบริการ กลยุทธ์/วิธีปฏิบัติ 1. งานบริการ 2. งานการเรียนการสอน 3. งานให้บริการวิชาการ 4. งานวิจัย การประเมินผล ทั้ง 4 ด้าน ผู้รับผิดชอบ หัวหน้าภาควิชา หัวหน้าหน่วยจอประสาทตา รองหัวหน้าภาควิชาด้านบริการ

Age - related macular degeneration (AMD) อดีต Argon Laser Photocoagulation New Rx Photodynamic Therapy (PDT) เริ่มตั้งแต่ปี 2546 - ปัจจุบัน ข้อดี - ลด severe visual loss (VA < 5/200) - relatively selective destroy abnormal vessels - preserved normal tissue at macula - ผู้ป่วยได้รับการรักษาที่ดีขึ้น ตั้งแต่ปี 2546 - พ.ค. 2548 มีผู้ป่วย 76 ราย

P : CPG for AMD - กำหนดมาตรฐานในการทำ PDT - สร้าง care map : PDT - ใบเก็บข้อมูล

CPG for AMD

มาตรฐานในการทำ PDT

Care map : PDT

ใบเก็บข้อมูล PDT

D : ปฏิบัติตาม CPG และ Care map C : ปฏิบัติได้ตาม CPG และ Care map 100% A : -

P : Quality of life in visual aspect : guideline for CMVR Cytomegalovirus retinitis (CMVR) in AIDs patients Late stage CD4 < 50 cells / mm3 P : Quality of life in visual aspect : guideline for CMVR

systemic ganciclovir response 80-100%, recurrence or progress 30-50% Treatment for CMVR (virostatic) systemic ganciclovir response 80-100%, recurrence or progress 30-50% Intravitreous ganciclovir

Intravitreous ganciclovir ข้อดี - ลด systemic side effect จาก IV (WBC ) - ไม่ต้อง admit - ลด cost ทั้งค่ายาและค่าใช้จ่ายอื่น ๆ - ลดอุบัติการณ์ของ phlebitis และ septicemia ข้อเสีย - ไม่สามารถป้องกันตาอีกข้างได้ - ถ้าเป็น bilateral ต้องฉีด 2 ตา - มีโอกาสเกิด endophthalmitis

guideline for CMVR

D : ปฏิบัติตาม guideline C : ผลการรักษา intravitreous ganciclovir ใน CMVR 55 คน 87 ตา มอ. ต่างประเทศ Complete response 63.22% 50-100% Partial response 22.99% 23-28% No response 13.79% Recurrent 14.94% 15%

C :. อุบัติการณ์การถูกเข็มตำ. หรือสารคัดหลั่งจากผู้ป่วย C : อุบัติการณ์การถูกเข็มตำ หรือสารคัดหลั่งจากผู้ป่วย AIDs กระเด็นเข้าตา A : - result เทียบกับ ต่างประเทศอยู่ในเกณฑ์ที่ดี - มีการสร้าง แนวทาง ปฏิบัติการทำหัตถการใน ผู้ป่วยโรคเอดส์

Check list การทำหัตถการในผู้ป่วยเอดส์

Submacular hemorrhage - blood under retina  permanent damage photoreceptor  poor VA - เดิม vitrectomy c subretinal tissue plasminogen activator (TPA) or manual clot removal P : เป็น Retina Excellent Center D : ให้การรักษาพยาบาลด้าน Retina ที่ทันสมัย โดยวิธี ฉีด intravitreous TPA c expansile gas

C : ผลการรักษา จาก Result of intravitreal tissue plasminogen activator and expansile gas injection for submacular hemorrhage in Thais 19 คน, 19 ตา post op VA ดีขึ้น  2 แถว 63.2% (report ต่างประเทศ 67%) เท่าเดิม 31.6% แย่ลง 5.2% final VA  20/63 = 10 ตา (52.6%) A : -

แนวทางการปรับปรุงการรักษาโรคที่ภาควิชาอยากทำ เพื่อให้ได้ result ที่ดีขึ้นและลดค่าใช้จ่าย, วันนอนโรงพยาบาลที่อาจ เพิ่มขึ้นตามมา การลดอัตราการติดเชื้อ (endophthalmitis) ในผู้ป่วยที่ผ่าตัดต้อกระจก < 0.1% ปัญหา 1. ทำให้การมองเห็นลดลง <20/400 2. ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลเพิ่มขึ้น เฉลี่ย 8,000 บาท/คน 3. ระยะเวลานอนโรงพยาบาลเพิ่มขึ้นประมาณ 2 สัปดาห์

แผน patient risk management

Time frame การแก้ปัญหา endophthalmitis กิจกรรม 2545 2546 2547 2548 2549 2550 - ตั้งอนุกรรมการดูแลเรื่อง endophthalmitis - ค้นหาสาเหตุปัจจัยเสี่ยง - ลด risk ที่เชื่อว่ามีผลทั้งในส่วนของ OPD, Ward, OR - ติดตาม endophthalmitis rate ทุก 3 เดือน - รายงาน incidence เข้าภาควิชาทุกเดือน - รายงาน incidence เข้าภาควิชา และ IC ทุกครั้ง สรุปวิเคราะห์ข้อมูลทุกปี

DO : 1. PCT ตั้งอนุกรรมการดูแลเรื่อง endophthalmitis 2. ค้าหาสาเหตุปัจจัยเสี่ยง 3. ลด risk factors ที่เชื่อว่ามีผล

: 1. รักษามาตรฐานการรักษาโรคต้อกระจก 2. วิเคราะห์ CPG ต้อกระจก : 1. รักษามาตรฐานการรักษาโรคต้อกระจก 2. วิเคราะห์ CPG ต้อกระจก OPD - กำหนดให้มีการ irrigate sac ทุกราย Ward - pre op : ตัดขนตา ให้ยาหยอดตารวม - post op : การเช็ดตา ให้ยาหยอดยาเฉพาะบุคคล - มีแนวทางปฏิบัติในการใช้ยาหยอดตาและน้ำยา - แนะนำอาการและอาการแสดงของการติดเชื้อให้ ผู้ป่วยทราบ OR - มาตรฐานการใช้ยาหยอดตาและน้ำยา - disposable use ของเครื่องมือบางอย่าง, สารน้ำ, วัสดุการแพทย์

กำหนดระยะเวลาการใช้ยา, สารน้ำ กำหนดระยะเวลาการใช้ยา, สารน้ำ ระยะเวลาการใช้ Ward ยาหยอดตาที่ใช้ร่วมกัน 7 วัน ยาหยอดตาเฉพาะบุคคล ไม่เกิน 1 เดือน NSS 8 ชั่วโมง OR หน้าห้องผ่าตัด - ยาฉีด 7 วัน (marcaine 1 วัน) - ยาหยอดตา 7 วัน ในห้องผ่าตัด - ยาฉีด 1 วัน - ยาหยอดตา 1 วัน - Betadine + น้ำยาอื่น ๆ 1 วัน - น้ำยาที่ใช้ในการผ่าตัด ใช้เฉพาะผู้ป่วยแต่ละราย

CHECK : 1. ติดตามความสมบูรณ์ของการปฏิบัติตาม care map 2. ตรวจสอบยาหยอดตา, น้ำยา, วัสดุการแพทย์ให้เป็นไปตามมาตรฐาน 3. ติดตามการเกิด incidence รายงานเมื่อพบการติดเชื้อไป ภาควิชาและ IC unit 4. รายงาน rate ในที่ประชุม PCT ทุก 3 เดือน % % % 0.1%

ACT : - ปรับปรุง CPG ต้อกระจก 3 ครั้ง - เมื่อพบมีการติดเชื้อ มีการ review ใน PCT และ วางแผนแก้ไขร่วมกันโดยเข้า cycle ของวงจร PDCA ใหม่ และร่วมมือกับ IC unit

สรุป การใช้ CPG ในการดูแลผู้ป่วยต้อกระจก และเฝ้าระวังการติดเชื้อหลังผ่าตัด โดยใช้ KPI และใช้กระบวนการ PDCA ทำให้สามารถแก้ไขปัญหาได้ และทำให้การติดเชื้อหลังผ่าตัดลดลงอย่างมีนัยสำคัญ

THE END