การเขียนคำสั่งเชื่อมต่อฐานข้อมูล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สถาปัตยกรรมเทียร์ TIER ARCHITECTURE.
Advertisements

1.กดปุ่ม Unzip (เลือกเป็น D:\)
ระบบเพิ่มแก้ไขข้อมูล หน่วยเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภา.
บทที่ 4 PHP with Database
ฐานข้อมูลที่ครอบคลุมทุกสาขาวิชา ฐานข้อมูลนี้ให้บริการข้อมูลในรูปแบบของบทคัดย่อ (Abstract) แต่หากรายการใดเป็นรายการที่ปรากฏอยู่ในวารสารที่ห้องสมุดบอกรับในรูปของ.
เสรี ชิโนดม MS SQLServer 7 เสรี ชิโนดม
ขั้นตอนการบันทึกประวัติและลงทะเบียนสำหรับนักศึกษาใหม่
การใช้ Microsoft Word 2007 / 2010 เพื่อการจัดการงานเอกสารเชิงวิชาการ
คำแนะนำ ขั้นตอนการกรอกแบบฟอร์มอิเลคทรอนิกส์ กรณีสมาชิกพ้นสมาชิกภาพ
Microsoft Word 2002 พุธทอง กาบบัวลอย.
สำรวจข้อมูลโรงงาน เพื่อปรับปรุงฐานข้อมูลโรงงาน
INDEXED FILES แฟ้มดรรชนี.
บทที่ 5 Visual C#.NET กับ ฐานข้อมูล
Chapter IV : สร้างการติดต่อ
เอกสารประกอบการบรรยาย เรื่อง ASP and Database
สถาปัตยกรรม ActiveX Data Object (ADO)
Microsoft Word Part I Government Savings Bank Computer Trainging Í
PHP-4 ติดต่อกับฐานข้อมูล MS-Access
ASP [#15] การใช้งาน ASP กับ Mysql ผ่าน ODBC การทำสมุดเยี่ยม Guestbook
ASP [ # 11 ] เตรียมความพร้อมก่อนติดต่อกับ Ms Access
Microsoft Word XP โดย พิสมัย น้ำจันทร์.
การแนะนำการใช้ฐานข้อมูล SpringerLink eBooks
ฟังก์ชันการแก้ไขข้อมูลประวัติกำลังพล จากคำสั่งเกี่ยวกับ สูญเสีย
เอกสารประกอบการบรรยาย เรื่อง ASP and Database
ASP:ACCESS Database.
Seree Chinodom Recordset Object Seree Chinodom Computer Science, BUU.
Seree Chinodom Connection Object Seree Chinodom Computer Science, BUU.
ASP:ACCESS Database.
ASP กับฐานข้อมูล.
การเชื่อมต่อกับฐานข้อมูล
การเชื่อมต่อฐานข้อมูลด้วย PHP
การสร้างจดหมายเวียน.
Php with Database Professional Home Page :PHP
แก้ไขข้อมูลที่ไม่สามารถกรอกเป็นภาษาไทยได้
โปรแกรม Microsoft Access
Database Programming Exceed Camp #2 24 October 2005.
คู่มือการใช้งานระบบ DOC รายงานผลการปฏิบัติราชการ
การเข้าถึงฐานข้อมูล ด้วยกลุ่ม object ADO.NET
การเชื่อมต่อฐานข้อมูล โดยใช้คอนโทรล SQLDataSource
Information Technology Project Management
Page: 1 การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์บนเว็บ อ. บุรินทร์ รุจจนพันธุ์.. ปรับปรุง 23 มิถุนายน 2550 Data Selecting by ASP มหาวิทยาลัยโยนก.
คือระบบที่รวบรวมข้อมูลไว้ในที่เดียวกัน ซึ่ง ประกอบไปด้วยแฟ้มข้อมูล (File) ระเบียน (Record) และ เขตข้อมูล (Field) และถูกจัดการด้วยระบบ เดียวกัน โปรแกรมคอมพิวเตอร์จะเข้าไปดึงข้อมูล.
PHP:Hypertext Preprocessor
การแปลงข้อมูลใน Excel เป็นฐานข้อมูลใน Access
Chapter 3 Set a Server by Linux.
CHARPTER 3 การสอบถามข้อมูลพื้นฐาน
การใช้งาน ASP.NET 3.5 ด้านฐานข้อมูล
การรับรองรายงานการประชุม ผ่านเว็บไซต์จังหวัดลพบุรี
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโปรแกรม Microsoft Access
การสร้างฐานข้อมูลและเขียนโปรแกรมจัดการด้วย VB.NET2005
เขียนโปรแกรมเพื่อแสดงข้อมูลพนักงาน ด้วย ADO.NET vs. DataReader
PHP & MySQL ระบบจัดการสินค้า
เริ่มต้นใช้งานโปรแกรม Microsoft Access
โปรแกรม Microsoft Access
บทที่ 3 การทำงานกับฟอร์ม (Form)
บทที่ 4 การทำงานกับรายงาน (Report)
การใช้ PHP ติดต่อฐานข้อมูลผ่าน ODBC
เขียนโปรแกรมกับฐานข้อมูล (Database Programming)
Introduction to PHP, MySQL – Special Problem (Database)
ADO.NET (การบริหารและจัดการข้อมูล)
ASP เตรียมความพร้อมก่อนติดต่อกับ Ms Access การนำข้อมูลจากตารางมาแสดง
คู่มือการใช้งาน โปรแกรม STI.VCT 1.0
การสร้างและการใช้งานฟอร์ม
ระบบสำนักงานไร้กระดาษ (e-Office)
บทที่ 9 การใช้งานฟอร์มและคอนโทรลต่าง ๆ
การสร้างตารางคำนวณด้วย
เริ่มใช้งาน Microsoft Office
Form.
การเตรียมข้อมูล (Data preparation)
JSP ติดต่อฐานข้อมูล.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเขียนคำสั่งเชื่อมต่อฐานข้อมูล การเขียนโปรแกรม ASP เพื่อเชื่อมต่อกับฐานข้อมูล Microsoft Access ต้องมี driver ช่วย ซึ่งมีหลายแบบ ODBC (Open Database Connectivity) โดยการสร้าง DSN (Data Source Name) DSNLess ไม่ใช้ DSN OLEDB

รูปแบบการใช้ DSNLess คำสั่ง ASP เพื่อเชื่อมต่อกับฐานข้อมูลแบบ DSNLess มี 2 ส่วน 1 Set ObjDB=Server.CreateObject(“ADODB.Connection”) เชื่อมต่อฐานข้อมูลผ่าน DSNLess ด้วยออปเจ็กต์ ObjDB 2 ObjDB.Open “DRIVER={Microsoft Access Driver (*.mdb)}; DBQ=F:\\home\\310303\\4402xxxx\\db-file.mdb” ใช้เมธอด Open เพื่อติดต่อฐานข้อมูล Microsoft Access โดยมี DBQ (Databasw Querry) บอกชื่อไฟล์ และไดเร็กทอรี่

การเขียนคำสั่งเพื่อดึงข้อมูลมาใช้ การเขียนโปรแกรม ASP เพื่อดึงข้อมูลจาก Access มี 3 ส่วน 1 คำสั่ง ASP เพื่อสร้างเร็กคอร์ดเซ็ต Set ObjRS=Server.CreateObject(“ADODB.RecordSet”) เมื่อ ObjRS เป็นออปเจ็กต์ที่ติดต่อเร็กคอร์ดเซ็ต 2 คำสั่ง SQL เพื่อดึงข้อมูลมาไว้ในตัวแปร SQL เช่น SQL=Select * From Employee 3 เขียนคำสั่ง ASP ให้เอ็กซิคิวต์ SQL Set ObjRS = ObjDB.Execute(SQL)

สรุปขั้นตอนการติดต่อ Access 2 เขียนโค้ด ASP เชื่อมต่อฐานข้อมูล (ใช้ DNSLess) 3 เขียนโค้ด ASP เพื่อสร้างเร็กคอร์ดเซ็ต 4 เขียนคำสั่ง SQL เพื่อดึงข้อมูลมาใช้งาน 5 เขียนคำสั่งให้เอ็กซิคิวต์ SQL

การเขียนคำสั่งเพื่อดึงข้อมูลมาใช้ หมายเหตุ ข้อ 5 อาจเขียนเป็น ObjRS.Open SQL, ObjDB ข้อ 4 และ 5 อาจเขียนรวมกันเป็นคำสั่งเดียว คือ ้ Set ObjRS=ObjDB.Execute(“Select * From Employee”) ก็ได้

ตัวอย่างโปรแกรมเชื่อมต่อฐานข้อมูล <% Set ObjDB=Server.CreateObject(“ADODB.Connection”) ObjDB.Open “DRIVER={Microsoft Access Driver (*.mdb)}; DBQ=F:\\home\\staff\\wichai\\Bookshop.mdb” Set ObjRS=Server.CreateObject“ADODB.RecordSet”) SQL=“Select * From book by title” Set ObjRS=ObjDB.Execute(SQL) %>

การอ่านข้อมูลและแสดงข้อมูล 1 พิมพ์หัวรายงาน 2 ติดต่อฐานข้อมูล และ สร้าง Object เพื่อดึงข้อมูล 3 พิมพ์หัวตาราง (ชื่อคอลัมน์) 4 พิมพ์ข้อมูลใน Recordset ทีละเรคคอร์ด 5 เลื่อนไปยังเรคคอร์ดถัดไป โดยใช้ MoveNext 6 เมื่อหมดข้อมูลให้พิมพ์ท้ายตาราง 7 ปิดการติดต่อฐานข้อมูล ดูตัวอย่าง ex10_01.asp หน้า 263-264

การเพิ่มข้อมูล 1 พิมพ์หัวเรื่อง 2 สร้างแบบฟอร์มกรอกข้อมูล 3 ตรวจสอบการกรอกข้อมูลไม่ครบ 4 ติดต่อฐานข้อมูล 5 บันทึกลงในฐานข้อมูล 6 ปิดการติดต่อฐานข้อมูล ดูตัวอย่าง ex10_02.asp หน้า 264-266

การตรวจสอบการส่งข้อมูล 1 ถ้าคลิกปุ่ม Add โดยไม่ได้กรอกข้อมูล หรือกรอกไม่ครบ ให้แสดงข้อความว่า “โปรดกรอกข้อมูลให้ครบ 2 ถ้าเพิ่มข้อมูลในฐานข้อมูลเสร็จแล้ว ให้แสดงข้อความว่า “เพิ่มข้อมูลให้แล้ว” และถามว่า จะเพิ่มอีก หรือจะหยุด หรือจะดูข้อมูล

การสืบค้นข้อมูล 1 พิมพ์หัวเรื่อง 2 สร้างฟอร์มใส่ข้อมูลสืบค้น โดยระบุว่าเป็นฟิลด์ใด 3 ตรวจสอบการกรอกข้อมูลไม่ถูกต้อง 4 ติดต่อฐานข้อมูล 5 เปรียบเทียบข้อมูลสืบค้นกับข้อมูลในฐานข้อมูล ถ้าพบข้อมูล ให้แสดงข้อมูลนั้น ถ้าไม่พบ ให้พิมพ์ข้อความว่า “ไม่พบข้อมูลที่ต้องการ” 6 ปิดการติดต่อฐานข้อมูล ดูตัวอย่าง ex10_03.asp หน้า 267-269

การแก้ไขข้อมูล 1 พิมพ์หัวเรื่อง 2 สร้างฟอร์มใส่ข้อมูลที่ต้องการแก้ไข 3 ตรวจสอบการกรอกข้อมูลไม่ถูกต้อง 4 ติดต่อฐานข้อมูล 5 เปรียบเทียบข้อมูลสืบค้นกับข้อมูลในฐานข้อมูล ถ้าไม่พบ ให้พิมพ์ข้อความว่า “ไม่พบข้อมูลที่ต้องการ” ถ้าพบข้อมูล ให้แสดงข้อมูลนั้น และเขียนข้อมูลใหม่ทับ 6 ปิดการติดต่อฐานข้อมูล ดูตัวอย่าง ex10_04.asp และ ex10_05.asp หน้า 270-273

การลบข้อมูล 1 พิมพ์หัวเรื่อง 2 สร้างฟอร์มใส่ข้อมูลที่จะลบ 3 ตรวจสอบการกรอกข้อมูลไม่ถูกต้อง 4 ติดต่อฐานข้อมูล 5 เปรียบเทียบข้อมูลสืบค้นกับข้อมูลในฐานข้อมูล ถ้าไม่พบ ให้พิมพ์ข้อความว่า “ไม่พบข้อมูลที่ต้องการ” ถ้าพบข้อมูล ให้แสดงข้อมูลนั้น และลบข้อมูลเรคอร์ดนั้น 6 ปิดการติดต่อฐานข้อมูล ดูตัวอย่าง ex10_06.asp และ ex10_07.asp หน้า 274 - 277