ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
จากพฤติกรรม ส่วนตัว สู่ปัญหา ระดับชาติ. สัญญาณผิดชำระ หนี้เพิ่มขึ้นชัด ทั้งบัตรเครดิตและ สินเชื่อบุคคล.
Advertisements

ทิศทางการดำเนินงานกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา
ชื่อเรื่อง การบริหารจัดการกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองที่มีผลต่อ พฤติกรรม และความพึงพอใจของสมาชิกกองทุนในจังหวัดสระบุรี ผู้วีจัย ธนวรรณ นุ่มอยู่ นาย.
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
บทบาทหญิงชายในระบบเศรษฐกิจ ศ. 363 Gender Economics
การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
ชี้แจงการสัมมนากลุ่มย่อย
การกำหนดนโยบายการคลังและบูรณาการของ 4 หน่วยงานหลัก ( )
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
แนวทางการศึกษาด้านเศรษฐกิจ สังคม และเศรษฐศาสตร์
กองทุนพัฒนาไฟฟ้ากับ การพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า
ดร. พงษ์เทพ สันติกุล คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
นโยบายการคลัง Fiscal Policy
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
หน่วยการเรียนรู้ กิจกรรมทางภาษา
นโยบายการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา
การกำหนดปัญหา ในการวิจัย
สรุปประเด็นหารือ.
( สมุทรสงคราม สมุทรสาคร เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ )
สาระสำคัญของการแก้ไข พรบ. กบข. ฉบับที่ 5
ค่าตอบแทนพนักงานราชการ
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องนโยบายการปฏิรูป การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
ลานวัฒนธรรมพื้นบ้านอีสาน สร้างอาชีพ
พัฒนาการความสัมพันธ์จากครอบครัวสู่รัฐ
โครงการส่งเสริมการออมภาคครัวเรือนเกษตรกร ด้วยเศรษฐกิจพอเพียง
นายกสมาคมธุรกิจบ้านจัดสรร
ความเปลี่ยนแปลงที่มีผลกระทบต่อการศึกษาและวิชาชีพครู ในปัจจุบันและอนาคต
เปรียบเทียบหลักสูตร การศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๔๔ กับหลักสูตรแกนกลาง ๒๕๕๑
ผู้อำนวยการสำนักงาน กศน. จังหวัดลพบุรี วิทยฐานะ เชี่ยวชาญ
การพัฒนาระบบการออมเพื่อเกษียณอายุ
อัญชลีพร พันธุ์วิไล หัวหน้ากลุ่มงานส่งเสริมการพัฒนาชุมชน
เขมกร เที่ยงทางธรรม สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑ กรุงเทพฯ
การประชุมสัมมนา เรื่อง การบริหารจัดการข้อมูลด้านแผนที่
ดร.ชาญชัย จิตรเหล่าอาพร
วาระที่ 3.5 การขอสนับสนุนงบประมาณ จากกองทุนสิ่งแวดล้อม
การวิเคราะห์ข้อมูล.
รายงานการฝึกอบรมโครงการ “ผู้นำเยาวชนคนพิการ พลิกฟื้นชุมชน สู่การพัฒนา”
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
1 การปาฐกถาพิเศษ เรื่อง “ วิทยาลัยชุมชน : ทางเลือกอุดมศึกษาเพื่อ ปวงชน ”
สำนักงาน กศน. สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
บุหรี่และสุรา ความแตกต่างของปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพระหว่าง ครัวเรือนที่มีเศรษฐานะและระดับการศึกษาที่แตกต่างกัน วิชัย โชควิวัฒน สุพล ลิมวัฒนานนท์ กนิษฐา.
ปัญหาการวิจัย โดย ดร.วรรณะ บรรจง.
คณะเกษตรศาสตร์ มช. ทำไมต้องหลอมรวม??? พิทยา สรวมศิริ 6 มิถุนายน 2546.
แนวทางการมีส่วนร่วมของกรมฯ การปฏิบัติของจังหวัด
ความยากจนกับสังคมไทย ปัญหาและทางออก
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การเขียนข้อเสนอโครงการ
ปรับค่าแรง300 บาทมีผลกระทบ เศรษฐกิจประเทศไทยจริง?
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
การสัมมนาเรื่อง ทิศทางกิจกรรม นักศึกษา คณะอุตสาหกรรม เกษตร และ การกู้เงินเพื่อ การศึกษา ประจำปี 2550 โดย อ. สุพัฒน์ คำไทย ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายพัฒนาคุณภาพนักศึกษา.
สำนักงานกศน.จังหวัดพัทลุง
14. การเขียนโครงร่างการวิจัย (แบบ ว -๑) (Proposal)
องค์ประกอบของการทบทวนวรรณกรรม
นางสาววิไลวรรณ แซ่เตีย รองประธานคณะกรรมการสมานฉันท์แรงงานไทย
เพื่อช่วยลดภาระดอกเบี้ย แก่เกษตรกรผู้ปลูกข้าว เป็นเกษตรกรผู้ปลูกข้าว นาปี ปีการผลิต 2557/ 58 ที่มีหนี้เงินกู้คงเหลือเพื่อ การผลิตข้าวนาปี จำนวน 3,570,000.
การจัดการองค์ความรู้ ระบบการผลิตที่ยั่งยืน ความพอเพียงในการดำรงชีพ
หลักการ และแผนงานการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์อยู่ดีมีสุขระดับจังหวัด ปีงบประมาณ 2551 สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 20 กรกฎาคม 2550.
ดร.สมพงษ์ อัศวริยธิปัติ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลพณิชยการ
คุณสมบัติผู้มีสิทธิ์กู้ยืม
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
ชื่อเรื่อง แรงจูงใจของนักศึกษาในการเลือกเรียนหลักสูตรปริญญาตรีสาขาบริหารธุรกิจบัณฑิต ผู้วิจัย นางสาวณัฐกานต์ ภูแฝก.
การจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทำ
ผลการพัฒนาวิธีการสอนโดยใช้แผนผัง ความคิด วิชา ครอบครัวศึกษาและความปลอดภัย ในชีวิต ( ) เรื่อง ความปลอดภัยในการใช้ยา ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตร.
การสร้างวินัยทางการเงินการคลัง 24 กุมภาพันธ์ 2557
ผู้วิจัย อาจารย์ณฐกมล พินิจศักดิ์
แนวคิดและหลักการส่งเสริมการตรวจสุขภาพ รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
การเริ่มต้นธุรกิจ SMEs
บทที่ 1 บทนำ SIRIPONR SOMKHUMPA.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความเหลื่อมล้ำของโอกาสการศึกษาและ ความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจของครัวเรือน ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ บรรยายที่คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วันที่ ๒๐ มกราคม ๒๕๕๔

ความเหลื่อมล้ำ (หลายมิติ) ความเหลื่อมล้ำของรายได้-ความมั่งคั่ง-โอกาสการศึกษา-การเข้าถึงแหล่ง ทรัพยากร-สิทธิไม่เท่าเทียมกัน ความเหลื่อมล้ำของโอกาสการศึกษา มีผลกระทบระยะยาวต่อครัวเรือน/สมาชิก ครัวเรือน ต่อการเลือกอาชีพ ชนชั้น รายได้ การออม และความมั่งคั่ง ความเหลื่อมล้ำด้านการศึกษา..ชัดเจนมากในระดับอุดมศึกษา (มากกว่า ระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา) .. การเลือกอาชีพและชนชั้น (socio-economic class) ซึ่งจำแนกออกเป็น ๓ ระดับ ชนชั้นรายได้สูง รายได้ปานกลาง รายได้น้อย ..

ข้อสันนิษฐาน/วิธีการวิจัย ความเหลื่อมล้ำฯสืบทอดข้ามรุ่น ผ่าน “ครอบครัว” ครัวเรือนรวย—ให้มรดกกับ ลูกหลานในรูปทุนเงิน (มรดก) และการลงทุนการศึกษา (human capital bequest) … บทความของ Piketty 2000, persistent inequality and the family transmission of wealth และ transmission of ability งานวิจัยนี้ใช้ทฤษฎีวงจรชีวิต และ ทฤษฎีทุนมนุษย์ เป็นกรอบการวิเคราะห์ หน่วยวิเคราะห์ หมายถึง ครัวเรือน และสมาชิกครัวเรือน ซึ่งมีคน ๒ รุ่น รุ่นพ่อ แม่ รุ่นลูก ใช้ SES2552 เป็นฐานข้อมูล ศึกษาโอกาสการเรียนระดับอุดมศึกษาของรุ่นพ่อ แม่ .. E = (e1, e2, e3, e4, e5, e6) ประถม ม.ต้น ม.ปลาย อาชีวะ ป.ตรี สูง กว่าปริญญาตรี

ข้อสันนิษฐาน/วิธีการวิจัย ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง ชนชั้น กับ ระดับการศึกษาของหัวหน้าครัวเรือน แบบจำลอง multinomial logit (sociorank = 1, 2, 3) และตัวแปรอิสระ หนึ่งใน ตัวแปรคือระดับการศึกษา เพื่อคำนวณ ความน่าจะเป็นของการเป็นชนชั้น รายได้สูง-และชนชั้นรายได้ปานกลาง ผลลัพธ์ ยืนยันด้วย odd-ratio ว่าโอกาสของคนจบประถมศึกษาที่จะเป็นชนชั้น รายได้สูง น้อยมาก เปรียบเทียบกับผู้จบปริญญาตรี หรือสูงกว่าปริญญาตรี การเลือกอาชีพ (และชนชั้น) หมายถึง รายได้การทำงานตลอดช่วงชีวิต การ ออมและ ความมั่งคั่งของครัวเรือน

การค้นคว้าต่อไป ศึกษาโอกาสการศึกษาของรุ่นลูก .. ซึ่งสัมพันธ์กับระดับการศึกษาของรุ่นพ่อแม่ และสัมพันธ์กับความจน/ความรวย (income decile class) ผลการศึกษา เยาวชนในครัวเรือนในชั้น quintile5 มีโอกาสเรียน ระดับอุดมศึกษาประมาณ 35% เปรียบเทียบกับเยาวชนในครัวเรือนจน (quintile1) 0.6% ด้วยเหตุผลหลายประการที่เราต่างทราบกันดี ก) ไม่มีกำลัง เงินที่จะให้ลูกเรียน ข) ลูกต้องออกมาทำงานหาเงินช่วยครอบครัว ค) intertemporal discount rate สูง “ปัจจุบัน” หรือ “ความอยู่รอดในวันนี้” สำคัญ กว่าการวางแผนใน “อนาคต” มาก... อีกนัยหนึ่ง คิดสั้นสำคัญกว่าคิดยาว...

การแปลงแนวคิดเป็นนโยบาย วิพากษ์ กองทุนให้กู้ยืมเพื่อศึกษา (กยศ) การจัดสรรโควตาให้สถานศึกษา..ไป จัดสรรให้ผู้เรียน .. วิธีการเช่นนี้ปิดโอกาสกับ “คนจนตัวจริง” จำนวนมากที่ไม่ได้ เข้ามหาวิทยาลัย ต้องออกไปทำงานช่วยพ่อแม่ตั้งแต่จบการศึกษาภาคบังคับ เสนอทางเลือกใหม่ แนวคิด targeting for the poor ให้มี “คณะกรรมการให้ทุน ระดับพื้นที่” (อำเภอหรือตำบล) ทำหน้าที่แมวมอง หาเยาวชนในครัวเรือน ยากจนที่มีผลการเรียน “ใช้ได้” “ใฝ่เรียน” ..ให้สามารถกู้ยืม (ค่าเล่าเรียน) และ ทุนให้เปล่า (สำหรับค่ากินอยู่ประจำเดือน) วิเคราะห์ภาระทางการคลังรัฐบาล เป้าหมาย (ขั้นต้น) คือเพิ่มสัดส่วนคนจนได้ เรียนระดับอุดมศึกษาจาก 0.6% เป็น 15% จะต้องจัดสรรเงินทุนมากน้อย เพียงใดและเป็นเงินเท่าใด?

การแปลงแนวคิดเป็นนโยบาย ผลการศึกษา ในแต่ละปี กยศ. จัดสรรเงินให้กู้เกือบ ๑ ล้านราย (ผู้กู้เก่ามากกว่า ๗ แสนราย) ผู้กู้รายใหม่มากกว่า ๒ แสนราย วงเงินกู้มากกว่า ๔ หมื่นล้านบาท อ้างอิงบท สัมภาษณ์ของ นพ.ธาดา มาร์ติน ผู้จัดการ กยศ. กันที่ให้นักเรียนยากจน ประมาณ 68,000 ราย (สี่ปี ปีที่หนึ่งเริ่มจาก 16,370 ราย เพิ่มจำนวนในปีที่สอง สาม สี่) งบประมาณ (ทุนให้เปล่า) สมมติตัวเลขว่า 3,500 บาท สำหรับ 10 เดือน รวมเป็น 35,000 บาทต่อคน ต้นทุนทางการคลัง 2,400 ล้านบาทโดยประมาณในสี่ปี เป็นทางเลือกใหม่เพื่อเป็นส่วนหนึ่งของมาตรการลดความเหลื่อมล้ำด้าน การศึกษา โดยให้แต้มต่อกับคนจน ..

การแปลงแนวคิดเป็นนโยบาย มีตัวอย่างเชิงประจักษ์มากมาย ที่ยืนยันว่า ลูกคนจนแต่ว่าเรียนเก่ง สามารถจบ มหาวิทยาลัย (แพทย์ วิศวกร...) สามารถเปลี่ยนสถานะเป็นคนรวยได้ ..ยิ่งไป กว่านั้นช่วยให้พ่อแม่พี่น้องญาติพี่น้อง “พ้นจากความยากจน” .. ลูกดีช่วยพ่อแม่ ได้ เป็นอภิชาตบุตร การศึกษาสูง เป็นหนึ่งในกลไกของ social mobility ได้เป็นอย่างดี จึงเสนอเป็นข้อคิดว่าควรจะปฏิรูป/เปลี่ยนแปลงเชิงนโยบาย ถ้าสังคมไม่ดำเนินอะไรเลย..persistent inequality, family transmission of inequality จะดำรงอยู่ตลอดไป