“การบริหารโลกาภิวัตน์: ประสบการณ์ของ ภาคอุตสาหกรรมไทย” การสัมมนาวิชาการประจำปี 2552 ครั้งที่ 32 “การบริหารโลกาภิวัตน์: ประสบการณ์ของ ภาคอุตสาหกรรมไทย” วาระครบรอบ 60 ปี คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วันพุธที่ 22 กรกฎาคม 2552
การบริหารโลกาภิวัตน์: ความท้าทายเชิงนโยบาย
เครือข่ายการผลิตระหว่างประเทศ: ผลิตบางขั้นตอนหรือผลิตแบบคลัสเตอร์ ไทยอยู่ในเครือข่ายที่ขยายตัว กว้างขวางในภูมิภาค ต้องการขั้นตอนที่มีมูลค่าเพิ่มสูงสุด ? แย่งชิงทุกขั้นตอนมาผลิตแบบคลัสเตอร์ ? การดำรงอยู่ทั้งสองลักษณะ ? ถูกต้องหรือไม่ที่จะใช้การพัฒนาแบบ คลัสเตอร์เป็นตัวชี้วัดความสำเร็จ ? บทความ 1: อุตสาหกรรมฮาร์ดดิสก์
บริษัทชิ้นส่วนของไทยถูกลดชั้นเป็น “ซัพพลายเออร์ของซัพพลายเออร์” การลงทุนข้ามชาติ: การใช้ประโยชน์และปฏิสัมพันธ์ระหว่าง บริษัทข้ามชาติและผู้ประกอบการท้องถิ่น บริษัทชิ้นส่วนของไทยถูกลดชั้นเป็น “ซัพพลายเออร์ของซัพพลายเออร์” ผลต่อการยกระดับของผู้ประกอบการไทย ? การใช้ประโยชน์จากการเป็น “ซัพพลายเออร์ของซัพพลายเออร์” ของผู้ประกอบการไทย ? บทบาทภาครัฐที่จะช่วยให้มีปฏิสัมพันธ์อย่างเหมาะสมและได้ประโยชน์เต็มที่ ? บทความ 2: อุตสาหกรรมชิ้นส่วนรถยนต์
การไปลงทุนในต่างประเทศของบริษัทไทย: เหตุและผล ไทยออกไปลงทุนต่างประเทศมากขึ้น ปัจจัยที่บริษัทเลือกไปลงทุนต่างประเทศ ? ผลต่อความสามารถในการแข่งขัน ? การใช้ฐานการผลิตในประเทศร่วมกับฐานการผลิตต่างประเทศ ? ผลต่อเศรษฐกิจมหภาค ? บทความ 3: บริษัทในอุตสาหกรรมอัญมณี
การเคลื่อนย้ายแรงงานระหว่างประเทศ: เพิ่มหรือลดความสามารถในการแข่งขัน การเคลื่อนย้ายแรงงานเพิ่มขึ้น อย่างรวดเร็วในภูมิภาค แรงงานทดแทนกันได้ ? รักษาความสามารถในการแข่งขันของผู้ประกอบการไทย? ลดแรงจูงใจในการยกระดับความสามารถในการผลิต? นโยบายรัฐและทางออกของผู้ประกอบการไทย ? บทความ 4: อุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่ม
ความผิดพลาดอาจทำให้ตกขอบโลก Thomas Friedman: The World is Flat