บทที่ 2 ระบบคอมพิวเตอร์ (computer system)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รายละเอียดวิชา ง การงานพื้นฐาน4(คอมพิวเตอร์2)
Advertisements

เทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับครู Information Technology for Teacher
กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี โรงเรียนมัธยมวานรนิวาส
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ระบบปฏิบัติการ อ. รวินทร์ ไชยสิทธิพร.
คอมพิวเตอร์ computer หมายถึงเครื่องคำนวณอิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถทำงานคำนวณผลและเปรียบเทียบค่าตามชุดคำสั่งด้วยความเร็วสูงอย่างต่อเนื่องและอัตโนมัติ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน.
เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์
ระบบปฏิบัติการ (Operating System : OS )
Distributed Administration
ระบบมัลติโปรแกรมมิ่ง (Multiprogramming System)
เกณฑ์การให้คะแนน กลางภาค 60 คะแนน สอบกลางภาค 20 คะแนน
พัฒนาการคอมพิวเตอร์ ช่วงชั้นที่ 3
คลิก เข้าสู่การเรียนรู้
Central Processing Unit
   ฮาร์ดแวร์ (Hardware)               ฮาร์ดแวร์เป็นองค์ประกอบสำคัญของระบบสารสนเทศ หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์รอบข้าง รวมทั้งอุปกรณ์สื่อสารสำหรับเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าเป็นเครือข่าย.
ระบบคอมพิวเตอร์ (Computer System)
เรื่อง องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ จำทำโดย นาย เดชฤทธิ์ ร้อยพรหมมา
COMPUTER.
ความหมาย และวิวัฒนาการ ของ ระบบปฏิบัติก าร.
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานคอมพิวเตอร์
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์และสถาปัตยกรรม
Surachai Wachirahatthapong
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการค้นคว้า
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์ หมายถึง เครื่องคำนวณอีเล็กทรอนิกส์ชนิดหนึ่งที่ออกแบบมาใช้ในการจัดการคำนวณงานทางธุรกิจ เครื่องจักรทางอีเล็กทรอนิกส์ที่ทำงานได้โดยอัตโนมัติตามความต้องการของผู้ใช้
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
การแก้ไขปัญหาคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
โครงสร้างการจัดเก็บข้อมูลเชิงกายภาพ
บทที 1 เริ่มต้น Windows XP
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ โดยหลักการแล้วจะประกอบด้วย 5 ส่วน คือ องค์ประกอบด้านฮาร์ดแวร์ องค์ประกอบด้านซอฟท์แวร์ หน่วยงานหรือตัวบุคคล วิธีการปฏิบัติงาน.
การออกแบบสถาปัตยกรรมแอปพลิเคชั่น
ส่วนประกอบ อุปกรณ์ และคุณสมบัติที่ดีของคอมพิวเตอร์
Information Technology I
8. ระบบผู้เชี่ยวชาญ.
คอมพิวเตอร์ในชีวิตประจำวัน
เรื่ององค์ประกอบคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์ทำงานอย่างไร
เรื่อง คอมพิวเตอร์กับการประมวลผลข้อมูล
มัลติมีเดีย ประกอบประมวลสาระ
เครื่องมือและเครื่องทุ่นแรงในงานบัญชี
โดย นายธีระพงษ์ มะลัยทิพย์
วิวัฒนการของคอมพิวเตอร์
การนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาสนับสนุนการทำงาน
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ ง41101 การงานพื้นฐานอาชีพ 1 ครูมาโนชญ์ แสงศิริ โรงเรียนพิจิตรพิทยาคม สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาพิจิตร เขต 1.
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาระนอง
คอมพิวเตอร์.
นาย กตัญญู ใจอารีย์ นาย ณัฐพงศ์ สองทอง ระบบคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
งานนำเสนอ เรื่อง คอมพิวเตอร์ยุคที่ สาม (T HIRD G ENERATION : ) เสนอ อาจารย์ อภิศักดิ์ พัฒน จักร จัดทำโดย กลุ่มที่ 3 SC-ICT SEC.1 นายจีรพัฒน์ อุมัษเฐียร.
ยุคของคอมพิวเตอร์.
โรงเรียนเทคโนโลยีภูเขียว
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
วิชาคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย นายดำรงเกียรติ อาศา นายปรมินทร์ สิ้นเซ่ง
สมาชิกในกลุ่ม. 1. นายอาดัม เจะอูมา. 2. นางสาวยาวารียะห์ แยนา. 3
ความหมายและประเภท ของคอมพิวเตอร์ โดย นางสาวปานตา สีฟ้า
Computer What are they? – อุปกรณ์อิเลคทรอนิคส์ที่ทำงานภายใต้คำสั่งงานที่เก็บอยู่ ในหน่วยความจำ โดยคอมพิวเตอร์ จะ สามารถรองรับ ข้อมูล หรือ Input ทำการประมวลผล.
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ (computer system)
คอมพิวเตอร์ ยุคที่ 5. ในยุคของคอมพิวเตอร์วีแอลเอสไอ เมื่อ ไมโครคอมพิวเตอร์มีขีดความสามารถ สูง ทำงานได้เร็ว สามารถประมวลผลและ แสดงผลได้ครั้งละมากๆ จึงทำให้
คิดค้นโดยเมาช์ลีและเอ็กเคอร์ต (Mauchly and Eckert) ใช้อุปกรณ์ หลอดสุญญากาศ (Vacuum Tube) เป็นส่วนประกอบหลัก ทำให้ตัวเครื่องมีขนาด ใหญ่ ใช้พลังงานไฟฟ้ามาก.
ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัด ลำพูน ส่ง อาจารย์ อรอุมา พงค์ธัญญะ ดิลก จัดทำ โดย ด. ญ. ศิวัชญา ศรีทองวัน เลขที่ 8 ด. ช. ต่อศักดิ์ ถาน้อย เลขที่ 9.
* ความหมายของระบบ เครือข่าย ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network) หมายถึงการ นำเครื่องคอมพิวเตอร์ มาเชื่อมต่อเข้า ด้วยกัน โดยอาศัยช่องทางการสื่อสาร.
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 2 ระบบคอมพิวเตอร์ (computer system)

ความหมายของคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์ที่มนุษย์ใช้เป็นเครื่องมือในการจัดการกับข้อมูล เพื่อทำการคำนวณและแสดงผลลัพธ์ออกทางอุปกรณ์แสดงผล

ยุคของคอมพิวเตอร์

ยุคของคอมพิวเตอร์ ยุคที่ 1 (ค.ศ. 1940 - 1953) ใช้หลอดสูญญากาศเป็นอุปกรณ์สำคัญ สื่อที่ใช้บันทึกข้อมูลสำรองคือ บัตรเจาะรู ได้แก่ เครื่อง Mark I ENIAC UNIVAC

MARK I UNIVAC ENIAC ENIAC

ใช้ทรานซิสเตอร์แทนหลอดสูญญากาศ ยุคที่ 2 (ค.ศ. 1953 - 1963) ใช้ทรานซิสเตอร์แทนหลอดสูญญากาศ หลอดทรานซิสเตอร์

ยุคที่ 3 (ค.ศ. 1963 – 1972) ใช้แผงวงจรรวม (Integrated Circuits หรือ IC) ซึ่งสามารถทำงานเทียบเท่ากับทรานซิสเตอร์หลายร้อยตัวรวมกัน ทำให้คอมพิวเตอร์มีขนาดเล็กลงกว่าเดิม ใช้พลังงานน้อยลงและมีความร้อนน้อยลง แต่มีความเร็วเพิ่มมากขึ้นและมีราคาถูกลง

IC : Integrated Circuit

ยุคที่ 4 (ค.ศ.1972 – 1984) พัฒนาแผงวงจรรวมมาเป็นแผงวงจรขนาดใหญ่ ทำให้เกิดไมโครโพรเซสเซอร์ หรือชิป (Chip) ตัวแรกของโลก คือ Intel 4004

(Very Large Scale Integration) Microprocessor – VLSI (Very Large Scale Integration)

ยุคที่ 5 (ค.ศ.1984 - 1990) มีการพัฒนารูปแบบการโต้ตอบและ แสดงผลทางหน้าจอเพื่อให้ดูง่ายขึ้น มีการพัฒนาเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ความเร็วสูง

Intranet Extranet Internet

ยุคที่ 6 (ค.ศ.1900 - อนาคต) ทำให้คอมพิวเตอร์มีเชาว์ปัญญาคล้ายมนุษย์ สามารถตัดสินใจเลียนแบบการใช้เหตุผลของมนุษย์ เรียกว่า “ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial intelligence หรือ AI)”

ประเภทของคอมพิวเตอร์ แบ่งตามลักษณะของข้อมูล แบ่งตามสมรรถนะ ขนาดและราคา

แบ่งตามลักษณะของข้อมูล อนาลอกคอมพิวเตอร์ ดิจิทัลคอมพิวเตอร์ ไฮบริดคอมพิวเตอร์

1. อนาลอกคอมพิวเตอร์ ทำงานโดยใช้หลักในการวัด มีความละเอียดและสามารถคำนวณได้น้อยกว่าดิจิทัลคอมพิวเตอร์ ไม่สามารถเก็บข้อมูลได้เป็นจำนวนมากเหมือนกับดิจิทัลคอมพิวเตอร์

เครื่องที่ใช้วัดปริมาณทางฟิสิกส์ เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ตรวจสภาพอากาศ ใช้ในวงการแพทย์ เช่น เครื่องตรวจวัดสายตา ตรวจวัดคลื่นสมองและการเต้นของหัวใจ เป็นต้น

2. ดิจิทัลคอมพิวเตอร์ ใช้หลักในการคำนวณแบบลูกคิด หรือหลักการนับ และทำงานกับข้อมูลแบบไม่ต่อเนื่อง ลักษณะการคำนวณจะแปลงเลขเลขฐานสิบก่อน แล้วจึงประมวลผลด้วยระบบเลขฐานสอง

มีความสามารถในการคำนวณและมีความแม่นยำมากกว่าอนาลอกคอมพิวเตอร์ สามารถเก็บข้อมูลได้เป็นจำนวนมากจึงต้องใช้สื่อในการบันทึกข้อมูล

3. ไฮบริดคอมพิวเตอร์ อนาลอกคอมพิวเตอร์ + ดิจิทัลคอมพิวเตอร์ เช่น การส่งยานอวกาศขององค์การนาซา จะใช้เทคนิคของอนาลอกคอมพิวเตอร์ในการควบคุมการหมุนของตัวยานอวกาศ ซึ่งเกี่ยวข้องกับความกดดันอากาศ อุณหภูมิ ความเร็ว และใช้เทคนิคของดิจิทัลคอมพิวเตอร์ในการคำนวณระยะทางจากพื้นผิวโลก

แบ่งตามสมรรถนะ ขนาดและราคา ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ มินิคอมพิวเตอร์ เวิร์คสเตชันคอมพิวเตอร์ ไมโครคอมพิวเตอร์

1. ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (Super Compuer)

2. เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe Computer)

3. มินิคอมพิวเตอร์ (Minicompuer)

4. เวิร์คสเตชันคอมพิวเตอร์ (Workstation Compuer) LAN

5. ไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcompuer)

ไมโครคอมพิวเตอร์ Desktop Computer / PC Notebook Computer PDA Plam มีรูปร่างต่างๆ กันไปน่ะครับ ไมโครคอมพิวเตอร์ Desktop Computer / PC Notebook Computer Plam PDA Pocker PC

องค์ประกอบของเครื่องคอมพิวเตอร์ Hardware Software Peopleware Documentation/ Procedure Data/ Information

วงจรการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์

หน่วยความจำ หน่วย ควบคุม คำนวณและ ตรรกะ

รูปแบบการประมวลผล ของคอมพิวเตอร์

การประมวลผลส่วนบุคคล (Personal Computing)

2. การประมวลผลแบบรวมศูนย์ (Centralized Computing)

การประมวลผลแบบแบทช์ (Batch Processing หรือ Off-line System) จะไม่มีการโต้ตอบระหว่างผู้ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ ข้อดี คือ ช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายในการใช้อุปกรณ์ ข้อเสีย คือ ข้อมูลจะไม่ทันสมัย

2) การประมวลผลแบบออนไลน์ (On-line Processing หรือ Transaction Processing หรือ Real-Time Processing ) เป็นวิธีที่ผู้ใช้สามารถใช้งาน พร้อมกันได้หลายคน (Multi-user) จะประมวลผลทันทีเมื่อรับข้อมูลเข้ามา

3.การประมวลผลแบบกระจาย (Distributed Computing) Client Client Client Server Server Client

คุณสมบัติของคอมพิวเตอร์ ความจำ (Storage) ความเร็ว (Speed) การปฏิบัติงานอัตโนมัติ (Self Action) ความน่าเชื่อถือ (Sure)

เป็นความสามารถในการเก็บข้อมูลจำนวนมาก ความจำ (Storage) เป็นความสามารถในการเก็บข้อมูลจำนวนมาก Storage Media

ความเร็ว (Speed) ความถี่ (Frequency) Hz (Hertz = Cycle/Second) ความสามารถในการประมวลผลข้อมูล (Processing Speed) ภายในเวลาที่สั้นที่สุด ความถี่ (Frequency) Hz (Hertz = Cycle/Second)

เช่น คอมพิวเตอร์รุ่น Pentium 4 มีความเร็วในการประมวลผล 2 เช่น คอมพิวเตอร์รุ่น Pentium 4 มีความเร็วในการประมวลผล 2.5 GHz หมายความว่า ประมวลผลได้ 2,500 ล้านคำสั่ง ใน 1 วินาที

การปฏิบัติงานอัตโนมัติ (Self Action) เป็นความสามารถของเครื่องคอมพิวเตอร์ ในการประมวลผลข้อมูลตามลำดับคำสั่ง ได้อย่างถูกต้องและต่อเนื่อง โดยอัตโนมัติ ตามขั้นตอนที่นักคอมพิวเตอร์ได้กำหนดไว้

GIGO - Garbage In Garbage Out ใช้แทนความน่าเชื่อถือของคอมพิวเตอร์ ความน่าเชื่อถือ (Sure) การประมวลผลที่ส่งผลให้เกิดผลลัพธ์ที่ถูกต้อง GIGO - Garbage In Garbage Out ใช้แทนความน่าเชื่อถือของคอมพิวเตอร์

ข้อจำกัดของคอมพิวเตอร์ การวางระบบคอมพิวเตอร์ต้องใช้เวลานานมาก การรวบกวนระบบงานปกติ การทำงานขึ้นอยู่กับมนุษย์

. . .สวัสดี. . .