1. ผู้นำที่สามารถก่อให้เกิดความร่วมมือที่ดี ควรเสริมสร้างบรรยากาศที่แจ่มชัด สบายใจ และผนึกกำลังกันในคณะทำงาน สบายใจ และผนึกกำลังกันในคณะทำงาน - เขาเป็นเสมือนแผงสวิตส์ไฟฟ้ากลางที่คอยติดตาม ดูแลการไหลเวียนของความคิด และปฏิบัติให้เคลื่อนไปอย่างราบรื่นที่สุดเท่าที่จะทำได้ - สร้างความมั่นใจว่าสมาชิกในคณะทำงาน แต่ละคนนั้น สำนึกว่าตนเองเป็นเจ้าของ โครงการนี้ด้วย - พัฒนาความรู้สึกของคนในคณะทำงานให้เขาคิดว่า เขาเป็นส่วนหนึ่งในคณะที่น่า ภาคภูมิใจเป็นพิเศษ - เขาต้องเป็นตัวเร่ง เป็นผู้เชื่อมระหว่างโลกของคนในกลุ่มกับกลุ่ม และเชื่อมกับ โลกภายนอก - จัดช่องทางการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพสูงสุดให้แก่สมาชิก
2. ผู้นำแห่งความร่วมมืออย่างมีประสิทธิภาพ ต้องมีทักษะในการจัดการ “ การข้ามพรมแดน ” และใช้ประโยชน์จากความหลากหลาย “ การข้ามพรมแดน ” และใช้ประโยชน์จากความหลากหลาย - พัฒนาโครงการใหม่ๆ ด้วยการยึดมั่นใน “ การแสวงจุดร่วม สงวนจุดห่าง ” นำเอาความคิดดีของทุกคนมาร่วมในกระบวนการ - เป็น dealer in hope มากกว่าจะมา “ การันตี ” - ลดความตึงเครียดของคนทำงานด้วยอารมณ์ขัน และสร้างสามัคคีในกลุ่ม - โฟกัสไปที่การให้กำลังใจและเอื้ออำนวยคณะทำงานให้คนพบศักยภาพภายใน และดึงมันออกมาใช้ - พยายามปรับการ “ แพ้ - ชนะ ” ในการโต้แย้งให้มาสู่การเปิดกว้างในการฟัง และคิดตัดสินใจอย่างชัดเจน
3. ผู้นำแห่งความร่วมมือ ปลุกเร้าใจคณะทำงานด้วย วิสัยทัศน์และบุคลิกภาพที่ดี - ต้องตระหนักตลอดเวลา เราจะทำเรื่องยากๆ เป็นพิเศษให้สำเร็จลุล่วงได้ โดยการ เชื้อเชิญบุคคลที่มีความสามารถให้มาร่วมทำงานนี้ เป็นความสามารถที่เราไม่มี - เราต้องเป็นคนที่ผู้อื่นไว้วางใจได้จริงๆ และเขา respect ด้วย - แปลงความใฝ่ฝันให้เป็นวิสัยทัศน์ที่กระทบหัวใจคณะทำงาน - แสดงความเป็นผู้ถ่อมตน (humility) และซื่อสัตย์ น่าไว้ใจ (integrity) - กล้าที่จะพูดในสิ่งที่ตนเอง “ หวาดกลัว ” - สร้างโมเดลที่ใช้ความร่วมมือเป็นพลังขับเคลื่อนและยกระดับความสำนึกไปสู่ เป้าหมายที่ปรารถนา - ท่ามกลางวิกฤตก็ยังหนักแน่น สง่างาม