งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
งานข้อมูล และ เทคโลโลยีสารสนเทศกลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์
Advertisements

การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2556 งบค่าเสื่อม
รายงานผลการดำเนินงาน บริหารจัดการค่าใช้จ่าย
การจัดสรรเงินเหมาจ่ายรายหัว สำหรับหน่วยบริการในสังกัด สป.สธ. 2556
การบริหารงบค่าเสื่อม 2557
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
ความคาดหวังของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติต่อการติดตามประเมินผล
ประกาศหลักเกณฑ์การบริหารกองทุนฯปี ๒๕๕๗
วาระที่ 4.1 องค์ประกอบคณะกรรมการ/คณะทำงาน ภายใต้อปสข.
การจัดหาและกระจายวัคซีน MMR เพื่อการป้องกัน/ควบคุมโรคหัด
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
การจัดสรรงบประมาณ โครงการเด็กไทยเฉลียวฉลาด ประเทศชาติแข็งแรง
ทพ.สันติ ศิริวัฒนไพศาล 21 กันยายน 2555
ฟันดี สุขภาพดี ชีวีมีสุข ทพ.สุธาเจียรมณีโชติชัย ผอ.สำนักทันตสาธารณสุข
บทบาท “ Six Key Function” ในจังหวัดภาคกลางตะวันตก
ตัวชี้วัด P4P ตัวชี้วัดที่2 : ร้อยละของผู้ที่อยู่ในภาวะพึ่งพิง(ติดเตียง)ได้รับการดูแล สุขภาพที่บ้าน(HHC) โดยบุคลากรสาธารณสุข เป้าหมาย ร้อยละ 80.
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
ประชุมกรรมการบริหารศูนย์
ประชุมเพื่อประสานแผน การทำงาน การกำหนดเป้าหมาย และการติดตามกำกับงาน
การบริหารกองทุนสุขภาพตำบล
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
การขับเคลื่อนเชิงระบบ เพื่อแก้ไขปัญหาฟันผุในเด็ก 0-5 ปี
(ส่วนที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่)
โครงการ "ฟันเทียมพระราชทาน"
ข้อเสนอการพัฒนา รพ.สต. เขตตรวจราชการที่ 3
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
นพ. จักรกริช โง้วศิริ ผจก. กองทุนสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
น.พ. ศิริวัฒน์ ทิยพ์ธราดล
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
คณะที่ ๑ : การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรค ประเด็นหลักที่ ๑. ๑
งานทันตสาธารณสุข ในหน่วยบริการปฐมภูมิ
ผลการดำเนินงาน ตค.50 – มค.51. รหัส ตัวชี้วัดเกณฑ์ผลการดำเนินงานจังหวัด เป้าหมาย(Y)ผลงาน (X)อัตร า (Z) 1001 ประชาชนที่มี หลักประกันสุขภาพ ได้รับบริการ.
กองทุนสมทบ ค่าบริการการแพทย์แผนไทย
ร่วมด้วย ช่วยกัน ประชาชนคือ เป้าหมาย ร่วมด้วย ช่วยกัน ประชาชนคือ เป้าหมาย นพ. นิทัศน์ ราย ยวา ผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข.
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
มุมมองการพัฒนาและขับเคลื่อน งานกองทุนฯอย่างยั่งยืน
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
ผลงานเดือนเม.ย.-ธ.ค.56 ถึงเดือน ม.ค.57
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
การบริหารงบบริการฟื้นฟูสมรรถภาพ ปี 2557
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
การดำเนินงานระบบสุขภาพอำเภอ (DHS) ตามนโยบาย กระทรวงสาธารณสุข
การบริหารงบค่าเสื่อม ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ปีงบประมาณ 2555
การดำเนินงาน OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม
ผลการสำรวจความต้องการ ความ คาดหวัง และความพึงพอใจ ของภาคีเครือข่ายด้านการส่งเสริม สุขภาพและพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่รับผิดชอบ ต่อศูนย์อนามัยที่
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
กรอบการบริหารงบบริการ การแพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2558
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
หลักเกณฑ์การประเมินกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
หลักการ และแผนงานการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์อยู่ดีมีสุขระดับจังหวัด ปีงบประมาณ 2551 สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 20 กรกฎาคม 2550.
ประชุมประสานแผนทันตฯ จังหวัด หนองบัวลำภู ปีงบประมาณ ๒๕๕๘ ๑๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ ห้องประชุม สสอ. เมือง.
ข้อมูลสารสนเทศและ การบริหารจัดการงบ P&P
เรื่องแจ้งจากกลุ่มงานทันต สาธารณสุข (4 ก. พ.2557)  ผลงาน QOF ทันตกรรม 2 เรื่อง  งานบริการทันตกรรมที่ผู้ตรวจ ราชการให้ความสำคัญ.
ทันตสาธารณสุข นำเสนอความสำเร็จตัวชี้วัด Functionปี 54
ความต้องการ สนับสนุน เพื่อการพัฒนาสาขา สุขภาพช่องปาก เขตสุขภาพที่ 1 วันที่ 28 กันยายน 2557.
แนวทางการบริหารงบค่าบริการ แพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2556 สมชาย ชินวา นิชย์เจริญ.
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
ยุทธศาสตร์การพัฒนารพ. สต. แบบบูรณาการจังหวัดแพร่ ประจำปีพ. ศ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการคลังท้องถิ่น จังหวัดนครราชสีมา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554

สถานการณ์สุขภาพช่องปากและระบบบริการทันตกรรม 100% ร้อยละฟันผุ 80.64 3-15ปี 24.43 ร้อยละการเข้าถึงบริการทันตกรรม 89.57 35-44 ปี 38.29 96.15 60-74 ปี 32.28 20 40 60 80 ร้อยละ (ที่มา:การสำรวจของกองทันตสาธารณสุข ปี 2550)

การบริหารงบประมาณการจัดบริการทันตกรรม แบ่งตามกลุ่มเป้าหมาย กองทุนทันตกรรม กองทุน OP/IP กลุ่มหญิงมีครรภ์ งานสร้างเสริม ป้องกัน และงานรักษาตามกำหนด เด็กปฐมวัย เด็กวัยเรียน (เน้นเด็ก ชั้น ป. 1 โดยให้จัดบริการทันตกรรมผสมผสานอย่างสมบูรณ์ ส่วนเด็กชั้นปีอื่น ให้บริการตามความจำเป็น) กลุ่มเยาวชนและวัยทำงาน งานสร้างเสริมและป้องกัน งานรักษา ผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป งานสร้างเสริม ป้องกัน และใส่ฟันปลอม กลุ่มเป้าหมายหลัก

กรอบการบริหารจัดการกองทุนทันตกรรม ปี 2554

1.2 งบสร้างเสริมสุขภาพช่องปากและกระตุ้นการจัดการระดับจังหวัด 1.งบบริการทันตกรรม 1.2 งบสร้างเสริมสุขภาพช่องปากและกระตุ้นการจัดการระดับจังหวัด แนวทางการบริหารงบ สปสช.เขตแจ้ง สสจ.และหน่วยบริการเพื่อส่งแผน/โครงการ - สสจ.ส่งแผน/โครงการระดับจังหวัด - CUP/ PCU/สอ./หน่วยงานอื่นๆ ส่งแผน/โครงการตามสภาพปัญหาและบริบทของพื้นที่ สสจ.รวบรวมเสนอคณะกรรมการทันตฯจังหวัดภายในเดือน พฤศจิกายน 53 กองทุนแจ้งจัดสรรวงงบตามรายหัวประชากรให้ สปสช.เขต ทราบ (ภายในเดือน ตุลาคม 53) คณะทำงาน ทันตสาธารณสุขระดับเขตพิจารณาและอนุมัติแผน/โครงการ สปสช. โอนเงินให้สสจ.(100%) (ภายในเดือน ธันวาคม 53) สปสช.เขตรวบรวมแผน/โครงการ เพื่อส่งเบิกสปสช. สปสช.เขต ติดตามผลการดำเนินงานของ สสจ. และรายงานผลต่อ สปสช.ทุก 6 เดือน

1.2 งบสร้างเสริมสุขภาพช่องปากและกระตุ้นการจัดการระดับจังหวัด 1.งบบริการทันตกรรม 1.2 งบสร้างเสริมสุขภาพช่องปากและกระตุ้นการจัดการระดับจังหวัด แนวทางการดำเนินงาน (ลักษณะProject- based) ระดับจังหวัด 1. สนับสนุนการดำเนินกิจกรรมตามยุทธศาสตร์ระดับประเทศที่ เกี่ยวข้องกับสุขภาพช่องปาก 2. สนับสนุนการดำเนินกิจกรรมตามนโยบายระดับจังหวัดที่ 3. พัฒนาและสนับสนุนการกระจายทันตบุคลากรในระบบบริการ ปฐมภูมิ เพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการทันตสาธารณสุขในพื้นที่ 4. ส่งเสริมการเข้าถึงบริการทันตสาธารณสุขในพื้นที่ให้มากขึ้น โดย พัฒนาการมีส่วนร่วมของภาครัฐและเอกชนในพื้นที่ 5. เพิ่มประสิทธิภาพการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากใน ระบบปกติ 6. สนับสนุนการดำเนินโครงการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากโดยการ มีส่วนร่วมของชุมชน เช่น อบจ. อบต. เทศบาล ระดับ CUP/ PCU/สอ./หน่วยงานอื่น * เป็นโครงการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากที่ดำเนินงานแก่ ประชาชนในพื้นที่ โดยเป็นการแก้ปัญหาที่สอดคล้องกับ สภาพปัญหา และบริบทของพื้นที่ และมุ่งเน้นใน กลุ่มเป้าหมายที่ไม่ใช่กลุ่มเป้าหมายหลัก ได้แก่ กลุ่มเยาวชน (มัธยมศึกษาขึ้นไป) วัยทำงาน และผู้สูงอายุ ทั้งนี้ การดำเนินโครงการสร้างเสริมและป้องกันสุขภาพช่องปากในระดับจังหวัด CUP/ PCU/สอ./หน่วยงานอื่น (1.2) ต้องไม่ซ้ำซ้อน กับการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพช่องปาก ทันตกรรมป้องกันและรักษาในกลุ่มเป้าหมายหลัก (1.3)

1.งบบริการทันตกรรม 1.3 สร้างเสริมสุขภาพช่องปาก ทันตกรรมป้องกันและรักษาในกลุ่มเป้าหมายหลัก แนวทางการบริหารงบ สสจ.แจ้ง คปสอ. (CUP / หน่วยบริการและPCU และอปท.) เพื่อจัดทำแผนปฏิบัติการการให้บริการในกลุ่มเป้าหมายหลักตามชุดสิทธิประโยชน์ (ส่งแผน สสจ. ภายในเดือน พฤศจิกายน 53) กองทุนแจ้งจัดสรรวงงบตามรายหัวประชากรกลุ่มเป้าหมายให้ สสจ. ทราบ (ภายในเดือน ตุลาคม 53) สปสช. โอนเงิน ให้ CUP (100%) (ภายในเดือน ธันวาคม 53) คณะกรรมการพัฒนาระบบบริการสุขภาพช่องปากระดับจังหวัด อนุมัติแผนและส่งเบิกผ่าน สปสช.เขต สสจ. รายงานผลการดำเนินงานในภาพรวมผ่านสปสช.เขตต่อ สปสช. ทุก 6 เดือน สปสช.เขตรายงานผลการดำเนินงานต่อสปสช. ทุก 6 เดือน

1.งบบริการทันตกรรม(ต่อ) 1.3 สร้างเสริมสุขภาพช่องปาก ทันตกรรมป้องกันและรักษาในกลุ่มเป้าหมายหลัก แนวทางการดำเนินงาน สนับสนุนการดำเนินงาน สร้างเสริมสุขภาพช่องปาก ทันตกรรมป้องกันและรักษาในเด็กวัยเรียน ตามชุดสิทธิประโยชน์ โดยเน้นการจัดบริการทันตกรรมแบบผสมผสานอย่างสมบูรณ์ในเด็กป.1 สนับสนุนการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพช่องปาก ทันตกรรมป้องกันและรักษาในหญิงตั้งครรภ์และเด็กปฐมวัย ตามชุดสิทธิประโยชน์ ทั้งนี้ หน่วยบริการประจำต้องจัดทำแผนปฎิบัติการสำหรับการดูแลสุขภาพช่องปากในกลุ่มเป้าหมายหลักอย่างชัดเจน โดยระบุรายละเอียดกิจกรรม ระยะเวลาที่จะดำเนินการ จำนวนเป้าหมาย ให้ครอบคลุมจำนวนสถานศึกษา/ศูนย์เด็กเล็กในพื้นที่