ภาวะ CV & CC กับการผลิตอาหารและการส่งเสริมการเกษตร: อะไรที่เสี่ยงและการปรับตัวเพื่อการผลิตที่อยู่ได้ รศ. ดร. อรรถชัย จินตะเวช ภาควิชาปฐพีศาสตร์และอนุรักษศาสตร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หมวดหมู่ข้อมูล ข้อมูลด้านพลังงาน ข้อมูลด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม
Advertisements

ความเสียเปรียบเชิงเศรษฐกิจ ไม่สามารถเข้าถึงบริการ/โอกาสต่างๆ
 โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ ประชาชนในจังหวัดเชียงใหม่
“แนวทางในการปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำ”
ดิน(Soil).
บรรยากาศ.
ร่วมสู่เส้นทางหัวใจสีเขียว เพื่อการอนุรักษ์พลังงาน
แนวทางการศึกษาด้านเศรษฐกิจ สังคม และเศรษฐศาสตร์
ภาวะโลกร้อน (Global Warming).
ฤาประเทศไทยจะเกิดวิกฤติอาหารในอนาคต : มุมมองด้านเทคโนโลยี
ภาวะโลกร้อน นายอัศวิน สมบูรณชนะชัย คณะอุตสาหกรรมเกษตร ปี2.
สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีและชีวิต
ภาวะโลกร้อน [ Global Warming ]
Global warming สาเหตุของการเกิดภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อน (Global Warming)
ภาวะโลกร้อน(Global Warming)
บทที่ 3 ทรัพยากรดิน.
ความสำคัญของพลังงาน การอนุรักษ์พลังงาน
น้ำมันไบโอดีเซล คืออะไร
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
ยินดีต้อนรับ ทุกท่านเข้าสู่.
วิกฤตการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของโลก
คุณครูโชคชัย บุตรครุธ
สารมลพิษ โชคชัย บุตรครุธ.
วิกฤตการณ์เกี่ยวกับการตัดไม้ทำลายป่า และการสูญเสียพื้นที่ป่าไม้
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
สถานการณ์ แนวโน้มและผลกระทบ จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
ความเชื่อมโยงวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมกับการจัดการเทคโนโลยี การใช้ทรัพยากร อย่างยั่งยืน การผลิต เข้าใจพื้นฐาน สิ่งแวดล้อม ปราศจาก มลภาวะและการสูญเสีย.
ตำบลนาตงวัฒนา อำเภอโพนนาแก้ว จังหวัดสกลนคร
โครงการพัฒนาปศุสัตว์อินทรีย์ ปี 2555
ประมวลภาพ โครงการติดตามประเมินผล การปฏิบัติงานของผู้ตรวจสอบภายในจังหวัด ระยะที่ 2 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กลุ่มที่ 5 จังหวัดตรัง.
การอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมในการผลิตพืช
เกษตรอินทรีย์ เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ ของขวัญปีใหม่ในปี 2547
หลักการสำคัญของเกษตรอินทรีย์
กลไกการปรับสมดุลโลก แผ่นที่ 1/6 พื้นสีเข้มดูดกลืน รังสีได้ดีกว่า.
คู่มือการจัดทำแผนปฏิบัติการ ป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนน
ภาวะโลกร้อน ป้องกัน แก้ปัญหา ภาวะโลกร้อน ผลกระทบ ผู้จัดทำ สาเหตุ
ปัญหา ….. ผลผลิต / รายได้ต่ำเพราะใช้พื้นที่ ผลิตพืชไม่เหมาะสม พื้นที่มีกำไร (40%) พื้นที่เท่า ทุน (40%) พื้นที่กินทุน ( ที่ลุ่ม ) พื้นที่กินทุน ( ที่ดอน.
งานวิจัยแบบสหสาขาวิชาการ
การสร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์ทรัพยากร
ภาวะโลกร้อน โดย น.ส.สมลักษณ์ แจ่มโฉม รหัส กลุ่ม 10.
หยุดโลกร้อนด้วยชีวิตพอเพียง
การป้องกันไฟไหม้สวนยางในฤดูแล้ง
กิจกรรมเด่น ประจำเดือน สิงหาคม 2554
พืชเศรษฐกิจ อำเภอเต่างอย
สำนักงานเกษตรอำเภอแก่งกระจาน
วิจัยเพื่อชุมชน : การประเมินและถ่ายทอดเทคโนโลยีเกษตรยั่งยืน
การจัดการเรียนรู้/ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร
ปัญหาสิ่งแวดล้อม.
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส43102
แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2550 – 2552) องค์การบริหารส่วนตำบลทางเกวียน
การจัดการสวนปาล์มน้ำมัน
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
หลักการ และแผนงานการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์อยู่ดีมีสุขระดับจังหวัด ปีงบประมาณ 2551 สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 20 กรกฎาคม 2550.
ชุดโครงการวิจัย ระบบสนับสนุนการตัดสินใจในการปลูกยางพาราในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ: กรณีศึกษาจังหวัดอุบลราชธานี (Decision Support System for Rubber Plantation.
นายแพทย์ประดิษฐ์ วินิจจะกูล รองอธิบดีกรมอนามัย
สำรวจสภาพปัญหาและเสนอแนวทางการแก้ปัญหาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
ชื่อผู้วิจัย: นางสาวเมธิกา ชาพิมล
ครูธีระพล เข่งวา โรงเรียนวัง ไกลกังวล ครูผู้สอน... นายธีระ พล เข่งวา เรื่อง : วิกฤตการณ์ ด้านสิ่งแวดล้อม และ ทรัพยากรธรรมชาติ ในประเทศไทย ( ๒ ) 1 หน่วยการเรียนรู้ที่
ปัญหาสิ่งแวดล้อมเกี่ยวกับ
เรื่อง ปรากฏการณ์โลกร้อน จัดทำโดย นายยศพล ปรางค์ภูผา ช่างยนต์ กลุ่ม 3 เลขที่ 17 เสนอ อาจาน สมคิด มีมะ จำ.
ภาวะโลกร้อน.
ครูธีระพล เข่งวา โรงเรียนวังไกล กังวล ครูผู้สอน... นายธีระพล เข่งวา เรื่อง : สถานการณ์ด้าน สิ่งแวดล้อม และ ทรัพยากรธรรมชาติ ในภูมิภาคต่างๆของ โลก ( ๑ )
สิ่งแวดล้อม และภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อน (Global Warming).
การเขียนรายงานผล การดำเนินงานตามระบบส่งเสริมการเกษตรมิติใหม่ (MRCF)
สังคมศึกษา ศาสนาและวัมนธรรม ส43102
เทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่อง น้ำแข็งขั้วโลกละลาย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ภาวะ CV & CC กับการผลิตอาหารและการส่งเสริมการเกษตร: อะไรที่เสี่ยงและการปรับตัวเพื่อการผลิตที่อยู่ได้ รศ. ดร. อรรถชัย จินตะเวช ภาควิชาปฐพีศาสตร์และอนุรักษศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ และ ศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จัดโดย กรมส่งเสริมการเกษตร กทม. ๑๓ กันยายน ๒๕๕๐

เนื้อเรื่อง คาร์บอนกับ CC (Climate Change) เครื่องมือสำหรับการศึกษา Vulnerability and Adaptation ของระบบเกษตร นโยบายส่งเสริมการเกษตรเพื่อเข้าใจเรื่องในวงกว้าง และสนับสนุนการปรับตัวตามสภาพพื้นที่ (ระบบนิเวศน์ที่แตกต่างกัน)

1

คาร์บอนกับ CC กิจกรรม คาร์บอนที่ถูกเติมเข้าในชั้นบรรยากาศ คาร์บอนที่ถูกดึงออกจากชั้นบรรยากาศ หมายเหตุ Giga tones คาร์บอนต่อปี การใช้น้ำมันเชื้อเพลิงและ fossil fuel 4 – 5 ลดการใช้หรือใช้เท่าที่จำเป็น การสูญเสียคาร์บอนจากแหล่งอินทรีย์วัตถุในดินและการชะล้างหน้าดิน 61 – 62 ส่งเสริมและให้รางวัลการลดการทำลายอินทรีย์วัตถุและการป้องกันหญ้าดิน การหายใจของสิ่งมีชีวิตในแหล่งไบโอสเฟียร์ 50 ลดไม่ได้ครับ การถางป่า 2 ลดการถาง-เผาป่าและเศษซากพืช การสังเคราะห์แสง=ตรึงคาร์บอนกลับในแหล่งไบโอสเฟียร์ (110) สามารถเพิ่มได้โดยการส่งเสริมการปลูกไม้ยืนต้น ละลายผสมเข้ากับน้ำทะเล (2.5) ส่วนนี้ทำอะไรไม่ได้ รวม 117-119 (112.5) คาร์บอนสุทธิที่เติมเข้าในชั้นบรรยากาศ + 4.5 – 6.5

คาร์บอนและกิจกรรมของมนุษย์ ประมาณร้อยละ 99.999 ของคาร์บอนจากแหล่งทั้งห้าเกี่ยวข้องน้อยมากกับการไหลเวียนหรือวงจรของคาร์บอน ส่วนใหญ่คาร์บอนจากการใช้ fossil fuels เข้าสู่การไหลเวียนในวงจรคาร์บอน ผ่านกิจกรรมของมนุษย์

ความท้าทายเกี่ยวกับผลผลิตข้าว & ประชากร ๘๐๐ เชียงใหม่: CM = 1.6 ล้านคน ๔๐๐ ทั้งประเทศ ขอนแก่น: KK = 1.8 ล้านคน ๐ ๒๕๑๗ ๒๗ ๓๗ ๔๓ สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร, ๒๕๑๘-๒๕๔๔

ความเสี่ยงของระบบเกษตร และทรัพย์สินอื่น ๆ ส่วนบุคคล ส่วนครัวเรือน (บ้านเรือน การผลิต) ส่วนรวม (ถนน สะพาน ระบบขนส่ง ฯลฯ)

2

เครื่องมือศึกษา Results CropDSS Interface 24 Crop models Admin. boundary DSSAT 4.5 FILE-X & OTHER INPUTS Yield Crop areas Roi Et Series TH01370001 Irrigation Soil Series 24 Crop models Climate zone Margin CMMC KKKU ECHAM4 Environment parameters OUTPUT FILES ANALYSIS PROGRAMS Multiple Cropping Center, Chiang Mai Univ., Thailand.

เครื่องมือศึกษา + เทียบกับ ECHAM4 climate model CSM-CERES-Rice model Historical weather data 1980-89 Predicted Regional Scenarios 1980-1989 เทียบกับ + ดิน ข้าวเหนียวสันป่าตอง: NSPT CSM-CERES-Rice model

ข้อมูลจากแบบจำลอง ECHAM รายวัน รังสีดวงอาทิตย์ อุณหภูมิอากาศสูงสุดและต่ำสุด ปริมาณน้ำฝน ความเร็วลม ความชื้นสัมพัทธ์

หน้าตาข้อมูลที่ใช้ในทางเกษตร? *WEATHER DATA :chiangmai @ INSI LAT LONG ELEV TAV AMP REFHT WNDHT CMMC 18.750 98.920 330 -99.0 -99.0 -99.0 -99.0 @DATE SRAD TMAX TMIN RAIN 03001 17.1 22.6 9.8 0.0 03002 20.7 24.7 8.2 0.0 03003 20.7 24.4 8.0 0.0 03004 20.8 23.6 5.4 0.0 03005 21.3 21.8 4.0 0.0 03006 21.5 23.0 3.8 0.0

ผลผลิตข้าวจำลอง (กก/ฮต) ECHAM (1980-1989) Rainfed, Low input

ผลผลิตข้าวจำลองจากแบบจำลองข้าว CSM-Rice และแบบจำลองภูมิอากาศ ECHAM4 ECHAM (1980-1989) Rainfed, Low input

ผลผลิตข้าวจำลอง (กก/ฮต) ECHAM (1980-1989) Rainfed, High input

ผลผลิตข้าวจำลองจากแบบจำลองข้าว CSM-Rice และแบบจำลองภูมิอากาศ ECHAM4 ECHAM (1980-1989) Rainfed, High input

ภาพรวมผลการศึกษาเบื้องต้นเมื่อหลายปีมาแล้ว CCAM (1980-1989) Rainfed, Low input

3

นโยบายการส่งเสริมการเกษตรเพื่อสนับสนุนการปรับตัว เล่างานที่เชียงใหม่ การสร้างคน + ข้อมูลเกี่ยวกับ CC ยุทธศาสตร์และส่งเสริมใน วิจัยและพัฒนาในระดับท้องถิ่น-ชาติ แผนส่งเสริมในสภาพ CC เครือข่ายในและนอกประเทศ