การลดปัญหาเนื้อแก้วและยางไหลในผล ในกระบวนการผลิตมังคุด

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา
Advertisements

ทฤษฎีใหม่.
เอกสารประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อทบทวนแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด 4 ปี (พ.ศ – 2561) ของกลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย เมื่อวันที่ 16 กันยายน 2556.
พญ.มณฑา ไชยะวัฒน ศูนย์อนามัยที่4 ราชบุรี
สมชัย จิตสุชน สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย 16 กุมภาพันธ์ 2550
การฟื้นฟูตลาดมังคุดในญี่ปุ่น
การลดปัญหาเนื้อแก้วยางไหล ในการผลิตมังคุดในภาคใต้
Thailand fruit paradise
รายงานประจำปีการประเมินคุณภาพ
การป้องกันกำจัดศัตรูพืชแบบผสมสาน
นางสาว จริยา อุทุมพร รหัสนักศึกษา
น.ส.นูรวิลฎาณ รอเซะ รหัสนิสิต
การควบคุมคุณภาพคอนกรีต
เกษตรตามแนว ทฤษฏีใหม่
เทคโนโลยีระบบบำบัดน้ำเสียด้วยพืชกรองน้ำเสีย
หมู่ 6 ตำบลแก่งโสภา อำเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก
โครงงานด้านวิศวกรรม การศึกษาปริมาณการใช้น้ำในการปลูกข้าวแบบเปียกสลับแห้ง.
การฉีดสีเข้าช่องไขสันหลัง
เรียนรู้ดูประสบการณ์จริง
7 องค์ประกอบ มีการรับรู้และมุมมองที่เหมือนกัน การมีวิสัยทัศน์ร่วมกัน
วิกฤตและโอกาสงานวิจัยข้าวไทย รศ. ดร
โครงการประชุมสัมมนาเชิง ปฏิบัติการ เรื่อง การบริหารจัดการเรียนการสอน ของมหาวิทยาลัย ภายใต้โครงสร้างใหม่ ( โครงการ ต่อเนื่อง ) ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล.
สาขา เทคโนโลยีการอาหาร
ประเด็นยุทธศาสตร์ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ดื่มน้ำสะอาด
การใช้ยอดอ้อยเลี้ยงโค- กระบือ ทดแทนอาหารหยาบในฤดูแล้ง
เกษตรอินทรีย์ เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ
ที่ดินเพื่อกิจการชลประทาน
ศาสตราจารย์ ดร.วิจิตร ศรีสอ้าน
1 ยุทธศาสตร์การสนับสนุน การวิจัยของ สกว. ปี วุฒิพงศ์ เตชะดำรงสิน รองผู้อำนวยการ สกว. jscom/ ยุทธศาสตร์การสนับสนุนการวิจัย
สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน) สวก.
วาระที่ การจัดทำแผนพัฒนาแหล่งน้ำ
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
ลักษณะของรายงาน 1. คำนำ 2. สารบัญ 3. เนื้อหาที่รายงาน
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
บทที่ 8 การประเมินภาวะสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยงของชุมชน
โดย นายสุพันธ์ อินทะแสง นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ
CITRUS NUTRITION SOLUTIONS ปัญหาผลร่วง : 1. ระหว่างระยะเติบโตของผล  การให้ปุ๋ยที่ถูก, การให้ปุ๋ยทางใบจะช่วยแก้ความไม่สมดุลได้เร็วขึ้น  ปรับปรุงความสมบูรณ์ของต้นจะช่วยเพิ่มภูมิคุ้มกัน.
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
ยุทธศาสตร์การพัฒนา จังหวัดมหาสารคาม.
โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ สรุปบทเรียนผลการดำเนินงานตาม ยุทธศาสตร์กรมปี 2552 เพื่อกำหนดแนวทางการพัฒนา ปรับปรุงการทำงาน วันที่ ธันวาคม 2552 ณ ห้องชลาลัย.
นางสาว กรรณิการ์ ปัญญาเมืองใจ
การวิเคราะห์พื้นที่เสี่ยงต่อโรคไข้เลือดออก จังหวัดอุบลราชธานี
แนวทางการบริหารจัดการผลไม้ระยะยาว
มุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตรให้ปลอดภัยและได้มาตรฐาน
การป้องกันไฟไหม้สวนยางในฤดูแล้ง
“AEC : อนาคต พืช ผัก ผลไม้ไทย”
นิวคาสเซิล ไปถึงไหนกันแล้ว?
คำแนะนำเรื่อง โรค มือ เท้า ปาก สำหรับผู้ปกครอง.
ระบบปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ระบบการติดตั้งมาตรวัดน้ำใหม่
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
พัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การ วิจัย และนวัตกรรม พัฒนาการเรียนรู้ด้าน วิทยาศาสตร์ตั้งแต่วัยเด็ก ต่อเนื่องทุกระดับการศึกษา เพื่อสร้างนักวิจัยรุ่นใหม่ให้
โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากร “ การนิเทศการศึกษา ” สำนักงาน กศน. จังหวัด กำแพงเพชร 11 – 13 มีนาคม 2552 ณ สำนักงาน กศน. จังหวัด กำแพงเพชร
การบริหารจัดการศัตรูพืชที่สำคัญ โดย
สรุปผลการประชุมกลุ่มที่ 3
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
การจัดการสวนปาล์มน้ำมัน
กลยุทธ์และกระบวนการสร้างการเรียนรู้
เทคนิคการวิเคราะห์พื้นที่ และเทคโนโลยีการผลิตพืช
ส่วนพยากรณ์อากาศ ศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคเหนือ กรมอุตุนิยมวิทยา
นายพนาสิน หอมจิตต์ ชั้น ปวช 1 เลขที่ 11 กลุ่ม 1 แผนกคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
คาดหมายลักษณะ อากาศ ส่วนพยากรณ์อากาศ ศูนย์อุตุนิยมวิทยา ภาคเหนือ กรมอุตุนิยมวิทยา.
10.11 ภัยแล้ง (Drought) เป็นสภาวะการขาดแคลนน้ำซึ่งเกิดขึ้นได้หลายกรณี เช่น เป็นช่วงเวลาที่ขาดฝนเป็นระยะเวลานาน ความแห้งแล้งอาจเกิดขึ้นได้ในบางช่วงที่มีความชื้นไม่เพียงพอที่จะให้แก่พืชได้
การเกษตร จัดทำโดย ด. ญ. ปุณนภา ปิวศิลป์ เสนอ ครู อรอุมา พงค์ธัญญะดิลก โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน.
ความเสี่ยงและการสร้างภูมิคุ้มกันของประเทศ
บทที่ 7 การดำเนินการผลิตในระบบอุตสาหกรรมเกษตร
การวิจัย เป็น  กระบวนการ แสวงหา ความรู้ หรือ ข้อเท็จจริงที่ถูกต้องของ ประเด็นปัญหาที่ต้องการ ศึกษา  เป็น ระบบ มีแบบแผนตาม แนวทางของ วิธีการทาง วิทยาศาสตร์
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสินค้าข่าเหลือง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การลดปัญหาเนื้อแก้วและยางไหลในผล ในกระบวนการผลิตมังคุด โรงแรมมณีจันท์ รีสอร์ทแอนด์สปอร์ตคลับ วันที่ 28 พฤศจิกายน 2551 ดร. เสริมสุข สลักเพ็ชร์ ผู้อำนวยการสำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 6

การลดปัญหาเนื้อแก้วและยางไหลในผล ในกระบวนการผลิตมังคุด ยังไม่มีวิธีการจัดการที่เหมาะสมเพื่อป้องกันและแก้ปัญหา จัดการการผลิตแบบเลี่ยงปัญหา - จัดการให้ต้นมังคุดออกดอกเร็วขึ้น เพื่อเก็บเกี่ยวผลผลิตก่อนฤดูฝน ปริมาณน้ำที่ต้นมังคุดได้รับระหว่างการพัฒนาการของผล สัมพันธ์กับการเกิดอาการเนื้อแก้วและยางไหลในผล

ป้องกันฝน ร่วมกับจัดการน้ำต้นมังคุดอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่อง ฝนตกหนักช่วงใกล้เก็บเกี่ยว พบอาการเนื้อแก้วมากขึ้น ผลอายุ 79-87 วัน (11-12 สัปดาห์) จะเกิดอาการเนื้อแก้วและยางไหลในผล มากกว่าผลที่อายุอ่อนกว่านี้

อาการเนื้อแก้ว ปัจจัยเชื่อมโยงที่ทำให้เกิดอาการเนื้อแก้ว ฝนตกหนักในช่วงแล้ง ขณะผลกำลังพัฒนาการ น้ำน้อยเกินไปในช่วงแล้ง น้ำมากกระทันหัน solute มีมากช่วงผล ใกล้เปลี่ยนเป็นระยะสายเลือด water stress ช่วงการ พัฒนาการของผล cell division & filling ไม่สมบูรณ์ อาหารสะสมช่วงการ พัฒนาการของผลไม่เพียงพอ อาการเนื้อแก้ว Osmotic potential ในเซลล์เนื้อสูง Cell elastic modulus ของเนื้อ ปัจจัยเชื่อมโยงที่ทำให้เกิดอาการเนื้อแก้ว

อาการ ยางไหลในผล ปัจจัยเชื่อมโยงที่ทำให้เกิดอาการยางไหลในผล lateral movement จากท่อน้ำสู่ท่อน้ำยาง ปริมาณน้ำยาง cell division & filling ไม่สมบูรณ์ อาหารสะสมช่วงการ พัฒนาการของดอกและผล ไม่เพียงพอ water stress (deficit/logging/saturation) ช่วงการพัฒนาการของผล อาการ ยางไหลในผล Osmotic potential ของน้ำยาง ในท่อน้ำยางสูง (เนื้อ/ไส้กลางผล/เปลือก) Cell elastic modulus ของท่อน้ำยาง ปัจจัยเชื่อมโยงที่ทำให้เกิดอาการยางไหลในผล

ปัจจัยหลัก ปัจจัยรอง ปัจจัยเสริม ของการเกิดอาการเนื้อแก้วและยางไหลในผล - การเปลี่ยนแปลงอย่างกระทันหันของสภาวะน้ำ ในเนื้อมังคุด และในน้ำยาง ปัจจัยรอง - อายุผลที่เหมาะสม - ความแข็งแรงของโครงสร้างพื้นฐานของเซลล์เนื้อมังคุด และเซลล์ท่อน้ำยาง

ปัจจัยหลัก ปัจจัยรอง ปัจจัยเสริม ของการเกิดอาการเนื้อแก้วและยางไหลในผล - ความสมบูรณ์ต้น - ปริมาณอาหารสะสมในต้น - จำนวนผลต่อต้น

การดำเนินงาน 1. โครงการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการแก้ปัญหาการเกิดอาการเนื้อแก้วและยางไหลในผล (กวก.) 2. โครงการศึกษาวิจัยเพื่อหาวิธีการเพิ่มปริมาณมังคุดคุณภาพโดยการจัดการเขตกรรมแบบผสมผสาน (กวก.) 3. โครงการวิจัยการสร้างสภาวะเครียดน้ำเพื่อชักนำการออกดอกของมังคุด และลดความเสียหายของอาการ เนื้อแก้วยางไหลในผล (สกว.)