พระพุทธชินราชงามเลิศ สำหรับคำขวัญของ จ.พิษณุโลก คือ พระพุทธชินราชงามเลิศ
ถิ่นกำเนิดพระนเรศวร
สองฝั่งน่านล้วนเรือนแพ
หวานฉ่ำแท้กล้วยตาก
ถ้ำและน้ำตกหลากตระการตา
สำนักชลประทานที่ 3 จังหวัดพิษณุโลก พิษณุโลกอดีตเป็นเมืองหน้าด่านของภาคเหนือตอนล่าง เช่นเดียวกับสำนักชลประทานที่ 3 ปัจจุบันกรมชลประทานแบ่งพื้นที่ทางการบริหารจัดการชลประทาน ครอบคลุมพื้นที่ 4 จังหวัด ได้แก่ อุตรดิตถ์ พิษณุโลก พิจิตร นครสวรรค์ มีพื้นที่รับผิดชอบประมาณ 20 ล้านไร่ - พื้นที่การเกษตร 10 ล้านไร่ พื้นที่ชลประทาน 2 ล้านกว่าไร่
โครงการก่อสร้าง ด้านการ ชลประทานที่สำคัญ
โครงการพัฒนาลุ่มน้ำน่าน แบ่งเป็น 3 ระยะ
เขื่อนสิริกิติ์ จ.อุตรดิตถ์ ระยะที่ 1 โครงการเขื่อนสิริกิติ์ ก่อสร้างเขื่อนสิริกิติ์ กั้นแม่น้ำน่าน ที่ ต.ผาซ่อม อ.ท่าปลา จ.อุตรดิตถ์ เขื่อนสิริกิติ์ จ.อุตรดิตถ์
เขื่อนนเรศวร จ.พิษณุโลก ระยะที่ 2 โครงการพัฒนาเกษตรชลประทานพิษณุโลก ก่อสร้างเขื่อนนเรศวร ซึ่งเป็นเขื่อนทดน้ำพร้อมระบบส่งน้ำ ระบายน้ำ ห่างจากเขื่อนสิริกิติ์ ตามลำน้ำประมาณ 176 กิโลเมตร ที่ ต.พรหมพิราม อ.พรหมพิราม จ.พิษณุโลก เขื่อนนเรศวร จ.พิษณุโลก
โครงการเขื่อนผาจุก จังหวัดอุตรดิตถ์ ระยะที่ 3 โครงการอุตรดิตถ์ แผนก่อสร้างเขื่อนทดน้ำผาจุก กั้นแม่น้ำน่านซึ่งอยู่ห่างจากเขื่อนนเรศวรขึ้นไปประมาณ 128 กิโลเมตร ที่ ต.ผาจุก อ.เมือง จ.อุตรดิตถ์ โครงการเขื่อนผาจุก จังหวัดอุตรดิตถ์ โรงไฟฟ้าพลังน้ำ คลองส่งน้ำฝั่งขวา คลองส่งน้ำฝั่งซ้าย
2. โครงการพัฒนาเกษตรชลประทานพิษณุโลก แบ่งเป็น 2 ระยะ 2. โครงการพัฒนาเกษตรชลประทานพิษณุโลก แบ่งเป็น 2 ระยะ ระยะที่ 1 เป็นการก่อสร้างเขื่อนทดน้ำนเรศวร ระบบส่งน้ำ ระบายน้ำ พัฒนาแปลงไร่นา ฝั่งขวา 657,016 ไร่ ฝั่งซ้ายตอนบน 91,000 ไร่ เสร็จสมบูรณ์ในปี 2528 ครอบคลุมพื้นที่ จ.พิษณุโลก พิจิตร นครสวรรค์ ประกอบด้วย - โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาเขื่อนนเรศวร - โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาพลายชุมพล - โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาดงเศรษฐี - โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาท่าบัว
ระยะที่ 2 โครงการพิษณุโลกฝั่งซ้าย เป็นโครงการพัฒนาในพื้นที่ฝั่งซ้ายแม่น้ำน่านตอนล่าง ซึ่งปัจจุบันอยู่ระหว่างจ้างออกแบบและเตรียมเปิดโครงการ เขื่อนสิริกิติ์ เขื่อนผาจุก อุตรดิตถ์ โครงการน้ำริด อ่างฯคลองตรอน เขื่อนแควน้อย นเรศวร เขื่อนนเรศวร ฝายพญาแมน พท.ชป.เขื่อนแควน้อย พลายชุมพล พิษณุโลก อ่างฯคลองชมพู พิจิตร พท.ชป.พิษณุโลก ฝั่งซ้าย ดงเศรษฐี เป็นโครงการพัฒนาในพื้นที่ฝั่งซ้ายแม่น้ำน่านตอนล่าง ซึ่งปัจจุบันอยู่ระหว่างจ้างออกแบบและเตรียมเปิดโครงการ ท่าบัว นครสวรรค์
แหล่งน้ำที่สำคัญ
แม่น้ำน่าน เป็นแม่น้ำสายหลักในการบริหารจัดการน้ำในพื้นที่ มีความยาว 450 กม. โดยมีเขื่อนสิริกิติ์ทำหน้าที่บริหารจัดการน้ำ
แม่น้ำยม ปัจจุบันไม่มีเขื่อนควบคุมบริหารจัดการน้ำ ทำให้เกิดปัญหาน้ำท่วม น้ำแล้ง ในพื้นที่สองฝังแม่น้ำอยู่เสมอ
แม่น้ำแควน้อย เป็นแม่น้ำสนับสนุนในการบริหารจัดการน้ำในพื้นที่ มีเขื่อนแควน้อยบำรุงแดน เก็บน้ำได้ 769 ล้าน ลบ.ม. ทำหน้าที่บริหารจัดการน้ำ ส่วนแม่น้ำอีกสายหนึ่งเป็นแม่น้ำสาขาของแม่น้ำน่าน คือ แม่น้ำแควน้อย ขณะนี้ก่อสร้างเขื่อนและระบบส่งน้ำฝั่งขวาเสร็จแล้ว อยู่ระหว่างการก่อสร่างระบบส่งน้ำฝั่งซ้าย พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานชื่อว่า เขื่อนแควน้อยบำรุงแดน
เขื่อนแควน้อยบำรุงแดน เขื่อนและการชลประทานในพื้นที่ เขื่อนสิริกิติ์ เขื่อนนเรศวร เขื่อนแควน้อยบำรุงแดน
แนวทางแก้ไขสู่ความเป็นเลิศ ในการบริหารจัดการน้ำ ในเขต ชป. นอกเขต ชป. - การเสริมสร้างการมีส่วนร่วม - การประชาสัมพันธ์เชิงรุก - การเสริมแรงจูงใจแก่เจ้าหน้าที่ - แก้ไขปัญหาความเหลื่อมล้ำในพื้นที่บริหารจัดการน้ำ - นำผลการวิจัยมาใช้อย่างจริงจัง
ผลงานเด่นของสำนักชลประทานที่ 3 - ระบบรายงานผล/แผนและงบประมาณแบบ online ส่วนจัดสรรน้ำและบำรุงรักษา - การพัฒนาวิธีเจียรจานดิสก์เบรก ส่วนเครื่องจักรกล - การบริหารจัดการชลประทานโดยชุมชนมีส่วนร่วม คลองส่งน้ำ C95 โครงการส่งน้ำฯท่าบัว
กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้วันนี้ - วิวัฒนาการ การจัดทำ website คลังความรู้ - การสรุปบทเรียน สู่การพัฒนาปรับปรุง - การจัดทำ website เพื่อพัฒนางานต่างๆ การผลิตสื่อวีดีโอ ถาม-ตอบ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ชมนิทรรศการ ชมการสาธิตการเจียระไนจานดิสเบรก ชมห้องเรียนรู้และห้องผลิตสื่อวีดีโอ website
ที่มาของโครงการศึกษาดูงานครั้งนี้ ?