เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รายงานข้อสั่งการ ข้อสั่งการ ๑. การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ
Advertisements

สกาวรัตน์ พวงลัดดา สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติ
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ (District Health System : DHS)
โดย โครงการช่วยกันสานเพื่อส่งเสริมคุณค่าผู้สูงอายุ
Road Map เขตบริการสุขภาพที่ ๑๒
แผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๖ Service Plan บริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ สุขภาพองค์รวม ทพ.อนุโรจน์ เล็กเจริญสุข ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ.
นโยบายการพัฒนา ตำบลจัดการสุขภาพดี วิสาหกิจชุมชนยั่งยืน
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน (รนสช.)
Strategy Map Teenage.
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติรอบที่ 1 ปีงบประมาณ จังหวัดสุรินทร์
แผนการประชุม จัดทำแผนปฏิบัติการ ๒๕๕๖
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 8 จังหวัดนครสวรรค์
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
“การสนับสนุนเครือข่ายให้มีการพัฒนาการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555” โดย ดร.นายแพทย์อนุพงค์ สุจริยากุล ผู้อำนวยการสำนักงานควบคุมป้องกันโรค.
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
การตรวจรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) 1.
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
การรับรองและเชิดชูเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ DISTRICT HEALTH SYSTEM ACCREDITATION AND APPRECIATION (DHSA)
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
สรุปการประชุม เขต 10.
น.พ. ศิริวัฒน์ ทิยพ์ธราดล
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
พัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 นพ. นิทัศน์ รายยวา ผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข.
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
ภาพฝัน ? การป้องกันควบคุมโรคในพื้นที่
การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอ District Health System (DHS)
มุมมองการพัฒนาและขับเคลื่อน งานกองทุนฯอย่างยั่งยืน
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
การดำเนินงานระบบสุขภาพอำเภอ (DHS) ตามนโยบาย กระทรวงสาธารณสุข
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
การชี้แจงตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านคุณภาพบริการ ร้อยละของอาเภอที่มีทีม miniMERT, MCATT, SRRT คุณภาพ ธีราภา ธานี พยาบาลวิชาชีพชำนาญ.
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
การเชื่อมโยงนโยบายบริการสุขภาพลงสู่อำเภอ, ตำบล
แผนพัฒนาระบบบริการ สาขาบริการปฐมภูมิ
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ทีมหมอประจำครอบครัว (Family care team) ดูแลถ้วนทั่วทุกกลุ่มวัย
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
การพัฒนา คป.สอ/รพ.สต.ติดดาว
สกลนครโมเดล.
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
(Evaluation) มุมมองประชาชน มุมมองภาคี (Stakeholder) มุมมองกระบวนการ
ผลลัพธ์ปี 2556 สำหรับทีมงานdhs
เป้าหมาย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
บ้านเลขที่ 11/7 Family Model สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
ประชาชน “อุ่นใจ” มีญาติทั่วไทย เป็นทีมหมอครอบครัว
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข (Road map to DHS) โดย นายแพทย์โสภณ เมฆธน รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข 20 ธค. 2555

ตัวชี้วัด DHS จำนวน 2 ข้อ ข้อที่ 1 ขั้นการพัฒนา ประเมินตนเอง (self assessment) ตามแบบฟอร์ม (บันได 5 ขั้น) จะมีหัวข้อย่อย 5 ประเด็น คือ คณะกรรมการระดับอำเภอ (Unity District Health Team) การให้คุณค่าการทำงาน(Appreciation) การพัฒนาและจัดสรรทรัพยากร ( Knowledge, CBL, FM) การดูแลสุขภาพตามบริบทที่จำเป็น (Essential care) การมีส่วนร่วมของเครือข่ายและชุมชน(Community participation) การวัดผล วัดจากความก้าวหน้า โดยเมื่อสิ้นปีงบประมาณมีความก้าวหน้าเพิ่มขึ้นอย่างน้อย 1 ขั้น ของเนื้อหา หรืออย่างน้อยระดับ 3 ในแต่ละหัวข้อย่อยขึ้นไป

ข้อที่ 2 หนึ่งอำเภอหนึ่งประเด็นสุขภาพเพื่อแก้ไขปัญหาตามบริบทโดยการมีส่วนร่วมของท้องถิ่นและชุมชน One District One Project  (ODOP) โดยทีมสุขภาพระดับอำเภอคัดเลือกปัญหาสุขภาพตามกลุ่มวัยหรือเชิงประเด็นอย่างน้อย 1 เรื่อง ร่วมกับทีม สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด และกำหนดตัวชี้วัดร่วมกันตามความเหมาะสม เพื่อติดตามความก้าวหน้าและความสำเร็จของโครงการ ทั้งนี้ต้องทำงานตามปัญหาของพื้นที่ในรูปแบบของเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภออย่างเป็นรูปธรรม

แนวทางการพัฒนา DHSA ด้วยกลไกบันได 5 ขั้น ขั้นที่ 5 5.5 ชุมชนและเครือข่ายมีการกำหนดนโยบายสาธารณะด้านการจัดการสุขภาพ 5.4 มีการขยายผลประเด็นสุขภาพอื่น หรือมสามารถเป็นแบบอย่างที่ดี 5.3 การพัฒนาบุคลากรเชื่อมโยงการดูแลมิติทางจิตใจและจิตวิญญาณ 5.2 เจ้าหน้าที่และทีมงานรู้สึกมีคุณค่าในตัวเองและงานที่ทำ 5.1 คณะกรรมการเครือข่ายสุขภาพมีการประเมินเพื่อวางแผนพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ขั้นที่ 4 4.5 ชุมชนและเครือข่ายมีแผนการบริหารจัดการสุขภาพชุมชน พร้อมมีส่วนร่วมรับผิดชอบ ร่วมตรวจสอบผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น   4.4 มีการติดตามประเมินผลการพัฒนาและการแก้ปัญหา 4.3 มีแผนพัฒนาบุคลากรเชื่อมโยงกระบวนการเรียนรู้สู่การปฏิบัติงานประจำ นำไปสู่การสร้างสรรค์นวัตกรรม 4.2 บุคคลอื่นเห็นคุณค่าและชื่นชมเจ้าหน้าที่หรือทีมงาน 4.1 คณะกรรมการสามารถดำเนินงานอย่างได้อย่างเป็นรูปธรรม (ตัวอย่าง โครงการต่างๆ) ขั้นที่ 3 3.5 ชุมชนและเครือข่ายมีส่วนร่วมในการคิดวางแผน จัดการระบบสุขภาพชุมชน ร่วมกัน และมีผลลัพธ์เกิดขึ้นเป็นรูปธรรม 3.4 มีการพัฒนาและแก้ปัญหาตามบริบท หรือ การดูแลสุขภาพที่จำเป็นของประชาชน(Essential care) 3.3 มีแผนพัฒนาบุคลากรเชื่อมโยงกระบวนการเรียนรู้สู่การปฏิบัติงานประจำ 3.2 เจ้าหน้าที่หรือทีมงานมีความพึงพอใจในงานและผลลัพธ์ของงานที่เกิดขึ้น 3.1 คณะกรรมการมีการใช้ข้อมูลในการวางแผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการ ขั้นที่ 2 2.5 ชุมชนและเครือข่ายมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมด้านสุขภาพ และอปท. ชุมชนสนับสนุนงบประมาณ( Resource sharing) 2.4 มีการวิเคราะห์ข้อมูลและ ปํญหาตามบริบทพื้นที่ หรือการดูแลสุขภาพที่จำเป็นของประชาชน (Essential care) 2.3 มีแผนพัฒนาบุคลากรที่เน้นการพัฒนาองค์ความรู้ (Knowledge, CBL, FM) และทักษะ (Skill) 2.2 เจ้าหน้าที่หรือทีมงานนำข้อมูลของพื้นที่มาวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา 2.1 คณะกรรมการมีการประชุมอย่างสม่ำเสมอพร้อมหลักฐานการบันทึก ขั้นที่ 1 1.5 ชุมชนและเครือข่ายมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมด้านสุขภาพ 1.4 มีการรวบรวมข้อมูลและปัญหาสุขภาพของพื้นที่ 1.3 มีการพัฒนาบุคลากรตามความต้องการของบุคคลหรือหน่วยงานส่งเข้ารับการอบรมตามแผนจังหวัด/กระทรวง 1.2 เจ้าหน้าที่หรือทีมงาน ทำงานตามที่ได้รับมอบหมาย 1.1 มีคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารจัดการเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ พร้อมกำหนดบทบาทหน้าที่ชัดเจน (Unity District Health Team)

ขั้นที่ 1 1.5 ชุมชนและเครือข่ายมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมด้านสุขภาพ 1.4 มีการรวบรวมข้อมูลและปัญหาสุขภาพของพื้นที่ 1.3 มีการพัฒนาบุคลากรตามความต้องการของบุคคลหรือหน่วยงานส่งเข้ารับการอบรมตามแผนจังหวัด/กระทรวง 1.2 เจ้าหน้าที่หรือทีมงาน ทำงานตามที่ได้รับมอบหมาย 1.1 มีคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารจัดการเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ พร้อมกำหนดบทบาทหน้าที่ชัดเจน (Unity District Health Team)

ขั้นที่ 2 2.5 ชุมชนและเครือข่ายมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมด้านสุขภาพ และอปท. ชุมชนสนับสนุนงบประมาณ( Resource sharing) 2.4 มีการวิเคราะห์ข้อมูลและ ปํญหาตามบริบทพื้นที่ หรือการดูแลสุขภาพที่จำเป็นของประชาชน (Essential care) 2.3 มีแผนพัฒนาบุคลากรที่เน้นการพัฒนาองค์ความรู้ (Knowledge, CBL, FM) และทักษะ (Skill) 2.2 เจ้าหน้าที่หรือทีมงานนำข้อมูลของพื้นที่มาวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา 2.1 คณะกรรมการมีการประชุมอย่างสม่ำเสมอพร้อมหลักฐานการบันทึก

ขั้นที่ 3 3.5 ชุมชนและเครือข่ายมีส่วนร่วมในการคิดวางแผน จัดการระบบสุขภาพชุมชน ร่วมกัน และมีผลลัพธ์เกิดขึ้นเป็นรูปธรรม 3.4 มีการพัฒนาและแก้ปัญหาตามบริบท หรือ การดูแลสุขภาพที่จำเป็นของประชาชน(Essential care) 3.3 มีแผนพัฒนาบุคลากรเชื่อมโยงกระบวนการเรียนรู้สู่การปฏิบัติงานประจำ 3.2 เจ้าหน้าที่หรือทีมงานมีความพึงพอใจในงานและผลลัพธ์ของงานที่เกิดขึ้น 3.1 คณะกรรมการมีการใช้ข้อมูลในการวางแผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการ

ขั้นที่ 4 4.5 ชุมชนและเครือข่ายมีแผนการบริหารจัดการสุขภาพชุมชน พร้อมมีส่วนร่วมรับผิดชอบ ร่วมตรวจสอบผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น 4.4 มีการติดตามประเมินผลการพัฒนาและการแก้ปัญหา 4.3 มีแผนพัฒนาบุคลากรเชื่อมโยงกระบวนการเรียนรู้สู่การปฏิบัติงานประจำ นำไปสู่การสร้างสรรค์นวัตกรรม 4.2 บุคคลอื่นเห็นคุณค่าและชื่นชมเจ้าหน้าที่หรือทีมงาน 4.1 คณะกรรมการสามารถดำเนินงานอย่างได้อย่างเป็นรูปธรรม (ตัวอย่าง โครงการต่างๆ)

ขั้นที่ 5 5.5 ชุมชนและเครือข่ายมีการกำหนดนโยบายสาธารณะด้านการจัดการสุขภาพ 5.4 มีการขยายผลประเด็นสุขภาพอื่น หรือมสามารถเป็นแบบอย่างที่ดี 5.3 การพัฒนาบุคลากรเชื่อมโยงการดูแลมิติทางจิตใจและจิตวิญญาณ 5.2 เจ้าหน้าที่และทีมงานรู้สึกมีคุณค่าในตัวเองและงานที่ทำ 5.1 คณะกรรมการเครือข่ายสุขภาพมีการประเมินเพื่อวางแผนพัฒนาอย่างต่อเนื่อง

คุณลักษณะที่ ๑ 1.1 มีคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารจัดการเครือข่ายสุขภาพ ระดับอำเภอ พร้อมกำหนดบทบาทหน้าที่ชัดเจน (Unity District Health Team) 2.1 คณะกรรมการมีการประชุมอย่างสม่ำเสมอพร้อมหลักฐานการ บันทึก 3.1 คณะกรรมการมีการใช้ข้อมูลในการวางแผนยุทธศาสตร์และ แผนปฏิบัติการ 4.1 คณะกรรมการสามารถดำเนินงานอย่างได้อย่างเป็นรูปธรรม (ตัวอย่าง โครงการต่างๆ) 5.1 คณะกรรมการเครือข่ายสุขภาพมีการประเมินเพื่อวางแผน พัฒนาอย่างต่อเนื่อง

SRRT + บุคลากร 1.2 เจ้าหน้าที่หรือทีมงาน ทำงานตามที่ได้รับมอบหมาย 2.2 เจ้าหน้าที่หรือทีมงานนำข้อมูลของพื้นที่มาวิเคราะห์ และแก้ไขปัญหา 3.2 เจ้าหน้าที่หรือทีมงานมีความพึงพอใจในงานและ ผลลัพธ์ของงานที่เกิดขึ้น 4.2 บุคคลอื่นเห็นคุณค่าและชื่นชมเจ้าหน้าที่หรือทีมงาน 5.2 เจ้าหน้าที่และทีมงานรู้สึกมีคุณค่าในตัวเองและงานที่ ทำ

แผนบุคลากร 1.3 มีการพัฒนาบุคลากรตามความต้องการของบุคคลหรือ หน่วยงานส่งเข้ารับการอบรมตามแผนจังหวัด/กระทรวง 2.3 มีแผนพัฒนาบุคลากรที่เน้นการพัฒนาองค์ความรู้ (Knowledge, CBL, FM) และทักษะ (Skill) 3.3 มีแผนพัฒนาบุคลากรเชื่อมโยงกระบวนการเรียนรู้สู่การ ปฏิบัติงานประจำ 4.3 มีแผนพัฒนาบุคลากรเชื่อมโยงกระบวนการเรียนรู้สู่การ ปฏิบัติงานประจำ นำไปสู่การสร้างสรรค์นวัตกรรม 5.3 การพัฒนาบุคลากรเชื่อมโยงการดูแลมิติทางจิตใจและจิต วิญญาณ

ระบาด+แผน+ผลสำเร็จ 1.4 มีการรวบรวมข้อมูลและปัญหาสุขภาพของพื้นที่ 2.4 มีการวิเคราะห์ข้อมูลและ ปัญหาตามบริบทพื้นที่ หรือการดูแลสุขภาพที่จำเป็นของประชาชน (Essential care) 3.4 มีการพัฒนาและแก้ปัญหาตามบริบท หรือ การดูแลสุขภาพที่จำเป็นของประชาชน(Essential care) 4.4 มีการติดตามประเมินผลการพัฒนาและการแก้ปัญหา 5.4 มีการขยายผลประเด็นสุขภาพอื่น หรือสามารถเป็นแบบอย่างที่ดี

คุณลักษณะที่ 1+4 1.5 ชุมชนและเครือข่ายมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมด้านสุขภาพ 2.5 ชุมชนและเครือข่ายมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมด้านสุขภาพ และอปท. ชุมชนสนับสนุนงบประมาณ( Resource sharing) 3.5 ชุมชนและเครือข่ายมีส่วนร่วมในการคิดวางแผน จัดการระบบสุขภาพชุมชน ร่วมกัน และมีผลลัพธ์เกิดขึ้นเป็นรูปธรรม 4.5 ชุมชนและเครือข่ายมีแผนการบริหารจัดการสุขภาพชุมชน พร้อมมีส่วนร่วมรับผิดชอบ ร่วมตรวจสอบผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น 5.5 ชุมชนและเครือข่ายมีการกำหนดนโยบายสาธารณะด้านการจัดการสุขภาพ

ตัวผลักดันให้เกิด DHS Unity team Essential care ผู้สูงอายุ - สุขภาพฟัน โรคเรื้อรัง - โรคจิตเวช การควบคุมโรคในท้องถิ่น - ผู้พิการ อัมพาต วานส่งเสริม คัดกรองโรค - เด็กเล็ก วัยรุ่น การแพทย์ฉุกเฉิน - ผู้ป่วยระยะสุดท้าย Self care ตัวชี้วัดผู้ตรวจ ตัวชี้วัดที่ 53 ร้อยละของอำเภอที่มี DHS ที่เชื่อมโยงระบบบริการปฐมภูมิกับชุมชนและท้องถิ่นอย่างมีคุณภาพ (ไม่น้อยกว่า 25) Source: โรงพยาบาลท่ามะกา 17 ก.ค. 2556 http://www.thamakahealth.com/index.php/2013-07-10-09-21-45/138-mou53

แนวทางการพัฒนา District Health System (DHS) 1.การบริหารจัดการสุขภาพเป็นเอกภาพระดับอำเภอ (Unity District Health Team) 2. การบริหารทรัพยากรร่วมกัน (Resouce Sharing) 3.การบริการปฐมภูมิที่จำเป็น (Essential Care) 4. การสร้างคุณค่าและคุณภาพกับเครือข่ายบริการปฐมภูมิ (Appreciation & Quality) 5. ประชาชนและภาคีมีส่วนร่วมในการจัดการปัญหาสุขภาพ (Partnerships) DHS

สรุปผลการประชุมเชิงปฏิบัติการ มีนโยบายให้สคร.ทำการประเมินความเข้มแข็งของการป้องกันควบคุมโรคในระดับอำเภอต่อไป การตรวจราชการในปี 2557 ให้บูรณาการการประเมินความเข้มแข็งไปกับตัวชี้วัด District Health System Appraisal วิสัยทัศน์ของการดำเนินงาน เพื่อสร้างระบบรับรองคุณภาพการป้องกันควบคุมโรคในระดับอำเภอ (Accreditation) กระบวนการประเมินเป็นเครื่องมือการพัฒนาคุณภาพการทำงานของทีมระดับอำเภอ เป็นกระบวนการต่อเนื่อง ทั้งทีมผู้ประเมินและผู้รับการประเมิน

สรุปผลการประชุมเชิงปฏิบัติการ เกณฑ์สำหรับการประเมินในปี 2557 กิจกรรม