ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพ ทรัพยากรบุคคล และสุขภาพภาคประชาชน
Advertisements

รายงานข้อสั่งการ ข้อสั่งการ ๑. การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชุมชน ปี ๒๕๕๗
โดย โครงการช่วยกันสานเพื่อส่งเสริมคุณค่าผู้สูงอายุ
นำเสนองาน my mapping เรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์ จัดทำโดย
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนากำลังคน (CHRO)
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
มาตรฐานวิชาชีพครู.
วันที่ 10 ตุลาคม 2556 ณ ห้องประชุม ส.ส.ส.
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน (รนสช.)
การพัฒนาเครือข่ายภาคประชาชนในการ จัดระบบเฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่ 2009 ภาคกลาง วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้เครือข่ายภาคประชาชน มีความรู้ความ เข้าใจที่ถูกต้อง.
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
โครงการ : การพัฒนาและ ปรับปรุงการทำงานด้วย Challenge โดย สำนักงานพัฒนา ชุมชนอำเภอเด่นชัย.
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์ ปี พ.ศ.2557 สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอร้องกวาง
งบหน้าข้อมูลผู้รับเมล็ดพันธุ์ผักพระราชทานฯ
บทบาทเจ้าหน้าที่ในการจัดเวทีประชาคมและเสริมสร้างครอบครัวพัฒนา
กลุ่มงานส่งเสริม การพัฒนาทุน
ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การพัฒนากลุ่มแม่บ้านเกษตรกร เป็นเกษตรกรปราดเปรื่อง (Smart Farmer)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ความก้าวหน้าการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สูการปฏิบัติ
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
โครงการเทียบเท่าผลผลิต ประจำปีงบประมาณ 2550
๑.เทคนิคสำคัญ ใช้กระบวนการมีส่วนร่วม โดยให้แกนนำในพื้นที่เข้ามามีส่วนร่วมเป็นวิทยากร ใช้กิจกรรมนันทนาการจุดประกายขณะเปิดเวที เช่น เพลง “สดุดีมหาราชา” รูปแบบเวทีเป็นธรรมชาติ
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
กรอบแนวคิดและแนวดำเนินงาน สำนักพัฒนากิจกรรมนักเรียน
การประชุมเตรียมการเข้า ร่วมแข่งขัน งานศิลปหัตถกรรม นักเรียนครั้งที่ 62 ที่จังหวัดชัยภูมิ 30 ตุลาคม 2555.
การเขียนรายงานผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
การจัดการความรู้ด้านสุขภาพ
แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๕
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
การปฏิบัติตามแนวทางถ่ายโอนภารกิจฯ จังหวัดเพชรบูรณ์ 1
กลุ่มที่ 1.
กลุ่มที่ ๔ “ รวมมิตรพิชิต ศูนย์ ” ® วิธีการ/แนวทางการ ปฏิบัติงาน และพัฒนาส่งเสริม การเกษตร ในระดับพื้นที่ร่วมกัน.
ขั้นตอน/วิธีการปฏิบัติตามคู่มือสำนักงานคณะกรรมการกระจายอำนาจ ฯ
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายวิชุล บุญสิม
หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด.
การสัมมนากลุ่ม 3 ความสำเร็จในการจัดทำแผนงาน/โครงการ
ระบบส่งเสริมการเกษตร
ศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน
โครงการศูนย์เรียนรู้พันธุ์พืชอำเภอ
โดย “กลุ่มที่ ๒... ฉลองชัย ”
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
โครงการการพัฒนางานเชิงระบบ โดยกระบวนการวิจัยในงานประจำ (R2R)
แนวทางดำเนินงานจัดการความรู้ในงานส่งเสริมการเกษตร ให้ประสบผลสำเร็จ
มุมมองการพัฒนาและขับเคลื่อน งานกองทุนฯอย่างยั่งยืน
วิธีการพัฒนาสถานศึกษาพอเพียงเป็นศูนย์การเรียนรู้ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา
แนวทางในการประเมินความพร้อม เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานตามนโยบาย
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
โดย นายแพทย์วุฒิไกร มุ่งหมาย นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี
ภายใต้โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 : โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา.
ตัวชี้วัด ร้อยละของเทศบาลและองค์การบริหารส่วนตำบล ที่นำแผนชุมชนสู่การพัฒนาท้องถิ่นได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
กลุ่มงานยุทธศาสตร์การ พัฒนาชุมชน สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด พิษณุโลก
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
การส่งเสริมการวิจัย และพัฒนา กระทรวงศึกษาธิการ. ขอบข่ายงานวิจัย ปัจจุบัน ประเภทของการวิจัย การวิจัยเพื่อการเรียนรู้ (LRRD) การวิจัยพื้นฐาน การวิจัยถ่ายทอดเทคโนโลยี
กลุ่ม A2 “ข้าวเด้ง”.
การประชุมคณะอนุกรรมการ
การบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. ปี 2558
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2558
การดำเนินงาน กศน.ตำบลให้ประสบความสำเร็จ
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
การวิจัย เป็น  กระบวนการ แสวงหา ความรู้ หรือ ข้อเท็จจริงที่ถูกต้องของ ประเด็นปัญหาที่ต้องการ ศึกษา  เป็น ระบบ มีแบบแผนตาม แนวทางของ วิธีการทาง วิทยาศาสตร์
ประกอบด้วย จังหวัด 1. ลำพูน 2. อุบลราชธานี 3. สุพรรณบุรี 4. สุรินทร์
การดำเนินงาน หมู่บ้านสารสนเทศต้นแบบ เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต
ระดับกระทรวง / กลุ่มภารกิจ / กรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ แนวทางการขับเคลื่อน ศูนย์เรียนรู้ชุมชนสมบูรณ์แบบ ปี ๒๕๕๖ ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ

1.เพื่อสนับสนุนคณะกรรมการให้สามารถดำเนิน พัฒนาศูนย์เรียนรู้ชุมชนสู่ศูนย์เรียนรู้ชุมชนสมบูรณ์แบบ วัตถุประสงค์ 1.เพื่อสนับสนุนคณะกรรมการให้สามารถดำเนิน กิจกรรมการจัดการความรู้เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต 2.เพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่ๆ ให้กับชุมชน 3.เพื่อพัฒนาเป็น ศรช.สมบูรณ์แบบ อย่างน้อย จังหวัดละ 1 แห่ง 4.เพื่อรักษาสภาพ ศรช.สมบูรณ์แบบ ปี 2555

พัฒนาศูนย์เรียนรู้ชุมชนสู่ชุมชนสมบูรณ์แบบ ปี ๒๕๕๖ กรมการพัฒนาชุมชนสนับสนุนงบประมาณ จำนวน ๕๐,๐๐๐ บาท ให้แก่ ศรช.บ้านลำพญาไม้ หมู่ ๙ ตำบลบัวชุม อำเภอชัยบาดาล โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาเป็น ศรช.สมบูรณแบบ อำเภอดำเนินการ ดังนี้ ๑. อำเภอร่วมกับคณะกรรมการ ศรช.จัดเวทีประชาคม เพื่อขับเคลื่อน ศรช. จำนวน 2 ครั้ง กลุ่มเป้าหมาย คือ คณะกรรมการและผู้เกี่ยวข้อง ศรช. จำนวน 2๐ คน เนื้อหา ประกอบด้วย

ทบทวนการดำเนินงาน ศรช. กำหนดเป้าหมายรูปแบบและแผนปฏิบัติการในการดำเนินงาน ศรช.ไปสู่ ศรช.สมบูรณ์แบบ จนท.จังหวัด/อำเภอเป็นที่ปรึกษา สรุปผลการจัดเวทีและประชาสัมพันธ์ให้ชุมชนทราบ ผ่านช่องทางที่เหมาะสม 2. พัฒนา ศรช.ตามแผนปฏิบัติการ เพื่อให้ ศรช.มีคุณลักษณะตามองค์ประกอบดังนี้

กับศูนย์เรียนรู้ชุมชนอื่นๆ ๑. มีการเชื่อมโยงเครือข่ายกับศูนย์เรียนรู้ชุมชนอื่น มีกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้หรือ กิจกรรมความร่วมมือในการจัดการความรู้ระหว่างศูนย์เรียนรู้ชุมชน กับศูนย์เรียนรู้ชุมชนอื่นๆ ทั้งในและนอกตำบล

๒. มีการวางระเบียบการให้บริการบุคคลภายนอกชุมชน มีการออกระเบียบการให้บริการ ของศูนย์เรียนรู้ชุมชนเพื่อรองรับ การให้บริการสื่อ/เอกสาร/องค์ความรู้/กิจกรรม/วิทยากร หรืออื่นๆ แก่บุคคลภายนอกชุมชนตามที่คณะกรรมการ ศูนย์เรียนรู้ชุมชนเห็นสมควร

๓. มีกิจกรรมการเรียนรู้ร่วมกันภายในชุมชน มีกิจกรรมนำองค์ความรู้ด้านต่างๆที่ผ่านการจัดการโดยคณะกรรมการศูนย์เรียนรู้ชุมชนมาเผยแพร่/ถ่ายทอดหรือแบ่งปัน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันภายใต้การมีส่วนร่วมของคนในชุมชน อย่างสม่ำเสมอ

มีการกำหนด(ปฏิทินกิจกรรม) ที่ชัดเจนเป็นรายสัปดาห์หรือรายเดือน ๔. มีการจัดทำปฏิทินกิจกรรมการเรียนรู้ มีการกำหนด(ปฏิทินกิจกรรม) ช่วงเวลาการจัดกิจกรรม การเรียนรู้ร่วมกันและดำเนินการตามปฏิทินของคนในชุมชนหรือกับบุคคล องค์กรภายนอกชุมชน ที่ชัดเจนเป็นรายสัปดาห์หรือรายเดือน

มีการจัดกิจกรรมหรือเวทีชุมชนในการ 5. มีการจัดกิจกรรมสร้างองค์ความรู้ใหม่ของชุมชน มีการจัดกิจกรรมหรือเวทีชุมชนในการ พัฒนาหรือสร้างองค์ความรู้ใหม่หรือกิจกรรมการต่อยอดความรู้ในชุมชน เช่น ร่วมกันคิดค้นนวัตกรรม/กิจกรรมหรือเครื่องมือใหม่ๆ ในการแก้ปัญหาในชุมชนการวิจัยชุมชนโดยชุมชน ฯลฯ

มีการจัดทำแผนการนำความรู้ของชุมชน 6. มีการวางแผนเพิ่มค่าองค์ความรู้ของชุมชน มีการจัดทำแผนการนำความรู้ของชุมชน ไปเพิ่มค่า สร้างราคา ขายความรู้ได้ เช่น จัดทำหลักสูตรฝึกอบรม/จัดทำหนังสือ สิ่งพิมพ์ ออกจำหน่ายหรือจดทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญา/วิทยากรชุมชน

3. มีกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน คณะกรรมการ ศรช.ร่วมกันจัดกิจกรรม ถอดบทเรียนองค์ความรู้ที่จำเป็น/สำคัญ/โดดเด่น ภายในชุมชน จำนวน 2 เรื่อง เช่น องค์ความรู้การแก้ปัญหาในชุมชน ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่สำคัญ เทคนิคหรือบทเรียนการปฏิบัติที่ดีของผู้นำ กลุ่มองค์กร เครือข่าย หรือชุมชนที่ประสบผลสำเร็จ และนำ องค์ความรู้ที่ได้มาจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และเผยแพร่ร่วมกันในชุมชน

4. จัดมุมเผยแพร่องค์ความรู้ชุมชน จัดทำสื่อและอื่นๆ เพื่อเผยแพร่ จัดทำเป็นนิทรรศการย่อยเผยแพร่ใน ศรช. 5. จังหวัดติดตามประเมินผลและสรุปรายงานผล ศรช.สมบูรณ์แบบ ปี 2556 ถอดบทเรียนจัดทำ เป็นรูปเล่ม จำนวน 1 เล่ม โดยมีประเด็นดังนี้

ส่วนที่ ๑ ภูมิหลัง (ประวัติศาสตร์ความเป็นมา ของหมู่บ้าน) ส่วนที่ ๒ การก่อเกิดศูนย์เรียนรู้ชุมชน ส่วนที่ ๓ โครงสร้างการบริหารจัดการและ ผลการดำเนินงาน ส่วนที่ 4 กระบวนการ/วิธีการในการพัฒนา ศรช. สู่ ศรช.สมบูรณ์แบบ ส่วนที่ 5 บทเรียนที่ดีและปัจจัยความสำเร็จ ส่วนที่ 6 ปัญหา/อุปสรรค และข้อเสนอแนะ เพื่อการพัฒนา ศรช.

ศรช.สมบูรณ์แบบ ปี 2556 กรอกข้อมูล ตามแบบ ศรช.2 ส่งจังหวัดภายในวันที่ 1๕ กรกฎาคม 2556