แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สาขาสุขภาพจิตและจิตเวช
Advertisements

ประเด็น : ผลการดำเนินงาน Service Plan
Service Plan สาขา NCD.
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
ภารกิจที่ ๑ ๑.๑ การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรค
สถานการณ์/สภาพปัญหาวัยรุ่น
โครงการพัฒนาโรงพยาบาลราชบุรี บริการฉับไว ไร้ความแออัด
คำอธิบาย วัตถุประสงค์ เพื่อผลักดันให้เกิดความสำเร็จของตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายดังนี้ ตัวชี้วัดยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข ตัวชี้วัดโครงการพระราชดำริและเฉลิมพระเกียรติ
มาตรการแก้ปัญหาฟันผุในเด็กปฐมวัย
เป้าหมายการบริการ กรมอนามัย ปี 2548
C P L F KPI 1 เด็ก 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 80 ครอบครัว เด็ก แม่
โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว
ฟันดี สุขภาพดี ชีวีมีสุข ทพ.สุธาเจียรมณีโชติชัย ผอ.สำนักทันตสาธารณสุข
การพัฒนางาน อนามัยแม่และเด็ก ทิศทางก้าวไกล สู่ คุณภาพ มาตรฐาน และ ความปลอดภัย นพ.สมชาย เชื้อเพชระโสภณ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขเขต.
แผนการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Services Plan) สาขาสุขภาพช่องปาก
ตัวชี้วัด P4P ตัวชี้วัดที่2 : ร้อยละของผู้ที่อยู่ในภาวะพึ่งพิง(ติดเตียง)ได้รับการดูแล สุขภาพที่บ้าน(HHC) โดยบุคลากรสาธารณสุข เป้าหมาย ร้อยละ 80.
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
การขับเคลื่อนเชิงระบบ เพื่อแก้ไขปัญหาฟันผุในเด็ก 0-5 ปี
คณะที่ ๒ การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ชื่อตัวชี้วัด : ร้อยละของจังหวัดที่มี ศสม. ในเขตเมืองตามเกณฑ์ที่กำหนด ( ไม่น้อย กว่า ๗๐ )
(ส่วนที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่)
กลุ่มพัฒนาระบบทันตสาธารณสุข งบประมาณ ปี การส่งเสริมทันตสุขภาพเด็กวัยเรียน โครงการจัดทำชุดความรู้ประสบการณืการจัด กิจกรรมของครู โครงการจัดการความรู้
ผลงาน กองทันตสาธารณสุข (ตุลาคม2548 – กรกฎาคม2549)
นพ.วินัย ศรีสอาด สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ กรมการแพทย์
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
คณะที่ ๑ : การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรค ประเด็นหลักที่ ๑. ๑
ประเด็นการตรวจราชการ
โครงการยิ้มสวยเสียงใส
งานทันตสาธารณสุข ในหน่วยบริการปฐมภูมิ
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
นายแพทย์สมพงษ์ สกุลอิสริยาภรณ์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
เพิ่มภาพ แผนที่ตำบล หรือภาพกิจกรรมชมรมสูงอายุในพื้นที่
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
การดำเนินงานระบบสุขภาพอำเภอ (DHS) ตามนโยบาย กระทรวงสาธารณสุข
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
การพัฒนางานวิกฤตสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2558
การเชื่อมโยงนโยบายบริการสุขภาพลงสู่อำเภอ, ตำบล
การพัฒนาสาขาสุขภาพช่องปาก เขตบริการสุขภาพที่ 11
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
สาขาโรคมะเร็ง.
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
การพัฒนาการดำเนินงาน Service Plan เขตบริการสุขภาพที่ 1 สาขาตา
สกลนครโมเดล.
ผลการตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 1
  โครงการฟันเทียมพระราชทาน และรากฟันเทียมเฉลิมพระเกียรติฯ เขตบริการสุขภาพที่ 12 โดย นพ.อินทร์ จันแดง.
ประชุมประสานแผนทันตฯ จังหวัด หนองบัวลำภู ปีงบประมาณ ๒๕๕๘ ๑๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ ห้องประชุม สสอ. เมือง.
เรื่องแจ้งจากกลุ่มงานทันต สาธารณสุข (4 ก. พ.2557)  ผลงาน QOF ทันตกรรม 2 เรื่อง  งานบริการทันตกรรมที่ผู้ตรวจ ราชการให้ความสำคัญ.
ทันตสาธารณสุข นำเสนอความสำเร็จตัวชี้วัด Functionปี 54
ความต้องการ สนับสนุน เพื่อการพัฒนาสาขา สุขภาพช่องปาก เขตสุขภาพที่ 1 วันที่ 28 กันยายน 2557.
สถานการณ์การดำเนินงานปี 2557 และ ทิศทางการดำเนินงานปี 2558
กำหนดตรวจราชการฯ (M&E) สสจ.เพชรบุรี เลื่อนจาก วันที่ 16 พฤษภาคม 2557 เป็นวันที่ 28 พฤษภาคม 2557.
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
ข้อมูลและรายงานทันตสาธารณสุข2558
การจัดการข้อมูลเพื่อประมวลผลงานตามตัวชี้วัดปี58
Company LOGO รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน 20 ตุลาคม 2557.
โรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
เกณฑ์การประกวดอำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาสุขภาพช่องปาก จังหวัดสงขลา

กิจกรรมหลักที่สำคัญในการพัฒนา ระบบบริการสุขภาพสาขาช่องปาก 1.เพิ่มการเข้าถึงบริการสุขภาพช่องปาก 2.ลดระยะเวลาการรอคอย 3.ระบบบริการมีคุณภาพ 4.ลดอัตราการเกิดโรค

1.เพิ่มการเข้าถึงบริการสุขภาพช่องปาก จำนวนรพ.สต.และศสม.ที่ให้บริการสุขภาพช่องปาก เพิ่มขึ้นในแต่ละเขตบริการ ตัวชี้วัด ร้อยละ 45 ของรพ.สต. และ ศสม. มีการจัดบริการโดยทันตบุคลากรประจำ หรือ จัดบริการสุขภาพช่องปากหมุนเวียนอย่างน้อยสัปดาห์ละ 1วัน ประชาชนในทุกระดับมีการเข้าถึงบริการสุขภาพช่องปาก 200/1,000ประชากรในปี 2560

1.เพิ่มการเข้าถึงบริการสุขภาพช่องปาก การจัดบริการสุขภาพช่องปากในหน่วยบริการระดับปฐมภูมิ (ศสมและรพ.สต.) กิจกรรม : * การขยายการจัดบริการไปสู่รพ.สต.และ ศสม. ในรูปแบบโซนเครือข่าย * การกระจายทันตภิบาล/ครุภัณฑ์ทันตกรรม สู่รพ.สต.และศสม.

ศักยภาพการบริการระดับปฐมภูมิ

45.0

1.เพิ่มการเข้าถึงบริการสุขภาพช่องปาก พัฒนาการจัดบริการสุขภาพช่องปากใน ศสม. ให้มีประสิทธิภาพและมีมาตรฐาน(ลดความแออัดในเขตเมือง) มีทันตแพทย์และทันตาภิบาลรับผิดชอบใน ศสม.หรือปฏิบัติงานเต็มเวลา * อย่างน้อยร้อยละ 50 ในปี 2557 ทุกแห่ง ในปี 2560 ความครอบคลุมการบริการ 200/1,000 ประชากร ปัจจุบันสงขลา มี ศสม.6แห่ง มีทันตบุคลากรประจำ 4 แห่ง คิดเป็นร้อยละ67

2.การลดระยะเวลาการรอคอย พัฒนาระบบการจัดบริการใส่ฟันเทียมแก่ผู้สูงอายุ ระยะเวลาการรอคอยคิวในการใส่ฟันเทียมของผู้สูงอายุ ผู้สูงอายุ ไม่เกิน 6 เดือน การมีส่วนร่วมของเอกชน (public-private)

ระยะเวลารอคอยใส่ฟันเทียม (เดือน)

2.การลดระยะเวลาการรอคอย พัฒนาหน่วยบริการให้สามารถจัดบริการ ทันตกรรมได้ตามมาตรฐาน - สัดส่วนจำนวนทันตแพทย์ทั่วไปต่อประชากร 1:10,000

แผนความต้องการทันตแพทย์

Dental safety goal(ทันตแพทยสภา) 3.ระบบบริการมีคุณภาพ พัฒนางานคุณภาพด้านทันตกรรมสามารถผ่านเกณฑ์การประเมินมาตรฐานคุณภาพ Dental safety goal(ทันตแพทยสภา)

การดำเนินงานที่ผ่านมา 3.ระบบบริการมีคุณภาพ การดำเนินงานที่ผ่านมา มีการจัดอบรม ในด้านวิชาการ ทันตบุคลากรทุกระดับทุกหน่วยบริการในจังหวัดสงขลา โดยสสจ.และทีมรพ.หาดใหญ่ เตรียมจัดตั้งทีมตรวจเยี่ยมการดำเนินงานในแต่ละรพ. มีแผนความก้าวหน้าดังนี้ 2557 : จะนะ ปาดังเบซาร์ 2558: สะเดา นาทวี นาหม่อม ระโนด สะทิ้งพระ ควนเนียง รัตภูมิ สิงหนคร เทพา 2559 : กระแสสินธุ์ สะบ้าย้อย บางกล่ำ คลองหอยโข่ง

4.ลดอัตราการเกิดโรค เด็กอายุ 3 ขวบ มีฟันผุในฟันน้ำนมไม่เกิน ร้อยละ 57 ลดอัตราการเกิดโรคฟันผุโดยเน้นในกลุ่ม 3 ขวบ ตัวชี้วัด เด็กอายุ 3 ขวบ มีฟันผุในฟันน้ำนมไม่เกิน ร้อยละ 57 หรือมีฟันผุลดลงร้อยละ 1 ต่อปี มีฟันผุในฟันน้ำนมไม่เกิน ร้อยละ 50 ในปี 2560

อัตราการเกิดฟันน้ำนมผุในเด็ก 3 ปี 4.ลดอัตราการเกิดโรค อัตราการเกิดฟันผุในกลุ่มอายุ 3 ปีและ 12 ปี ลดลงร้อยละ1ต่อปี อัตราการเกิดฟันน้ำนมผุในเด็ก 3 ปี 2552 2553 2554 2555 2556 77.35 77.76 77.73 69.90 69.6

แผนงานการดูแลสุขภาพช่องปาก เด็กแรกเกิด – 3 ปี แผนงานการดูแลสุขภาพช่องปาก เด็กแรกเกิด – 3 ปี กิจกรรม 1. บูรณาการร่วมกับโครงการสายใยรักแห่งครอบครัว (เยี่ยมหลัง/คลินิก WCC) 2.การจัดทำสื่อความรู้การดูแลสุขภาพช่องปาก "ตามช่วงอายุที่สำคัญ (4-6mo,9-12mo,15-18 mo 2-3y) 3.กิจกรรมฝึกทักษะแม่ในแต่ละช่วงวัย "แปรงฟันให้ลูกก่อนนอน" 4. พัฒนาศักยภาพ จนท/อสม. "การเยี่ยมบ้าน" 5. การตรวจสุขภาพช่องปาก 6. การใช้ฟลูออไรด์เสริม และระบบติดตาม มาตรการ : *สร้างความตระหนัก *สื่อประชาสัมพันธ์ *พัฒนาศักยภาพจนท. *การใช้ฟลูออไรด์วานิช

แผนงานการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กแรกเกิด – 3 ปี (ต่อ) ตัวชี้วัดกิจกรรม 1. เด็กอายุ 9-12 เดือน มีฟันผุในฟันน้ำนมไม่มากกว่า ร้อยละ 2 2. เด็กอายุ 18-24 เดือน มีฟันผุในฟันน้ำนมไม่มากกว่า ร้อยละ 20 3. เด็กต่ำกว่า 3 ปี ได้รับบริการตรวจฟันและผู้ปกครองได้รับการฝึกทักษะการแปรงฟัน ร้อยละ 70 (85 focal area) 4. เด็กต่ำกว่า 3 ปี แปรงฟันก่อนนอน ร้อยละ 70 (85 focal area) 4. เด็กต่ำกว่า 3 ปีได้รับฟลูออไรด์วานิช ร้อยละ 50 (70 focal area) เด็กอายุ 3 ขวบ มีฟันผุในฟันน้ำนมไม่มากกว่า ร้อยละ 57 ( ร้อยละ 50 ปี 60) หรือมีฟันผุลดลงร้อยละ 1 ต่อปี (ภาพรวมเขต 12 ปี 55 ร้อยละ 69.75)