แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาสุขภาพช่องปาก จังหวัดสงขลา
กิจกรรมหลักที่สำคัญในการพัฒนา ระบบบริการสุขภาพสาขาช่องปาก 1.เพิ่มการเข้าถึงบริการสุขภาพช่องปาก 2.ลดระยะเวลาการรอคอย 3.ระบบบริการมีคุณภาพ 4.ลดอัตราการเกิดโรค
1.เพิ่มการเข้าถึงบริการสุขภาพช่องปาก จำนวนรพ.สต.และศสม.ที่ให้บริการสุขภาพช่องปาก เพิ่มขึ้นในแต่ละเขตบริการ ตัวชี้วัด ร้อยละ 45 ของรพ.สต. และ ศสม. มีการจัดบริการโดยทันตบุคลากรประจำ หรือ จัดบริการสุขภาพช่องปากหมุนเวียนอย่างน้อยสัปดาห์ละ 1วัน ประชาชนในทุกระดับมีการเข้าถึงบริการสุขภาพช่องปาก 200/1,000ประชากรในปี 2560
1.เพิ่มการเข้าถึงบริการสุขภาพช่องปาก การจัดบริการสุขภาพช่องปากในหน่วยบริการระดับปฐมภูมิ (ศสมและรพ.สต.) กิจกรรม : * การขยายการจัดบริการไปสู่รพ.สต.และ ศสม. ในรูปแบบโซนเครือข่าย * การกระจายทันตภิบาล/ครุภัณฑ์ทันตกรรม สู่รพ.สต.และศสม.
ศักยภาพการบริการระดับปฐมภูมิ
45.0
1.เพิ่มการเข้าถึงบริการสุขภาพช่องปาก พัฒนาการจัดบริการสุขภาพช่องปากใน ศสม. ให้มีประสิทธิภาพและมีมาตรฐาน(ลดความแออัดในเขตเมือง) มีทันตแพทย์และทันตาภิบาลรับผิดชอบใน ศสม.หรือปฏิบัติงานเต็มเวลา * อย่างน้อยร้อยละ 50 ในปี 2557 ทุกแห่ง ในปี 2560 ความครอบคลุมการบริการ 200/1,000 ประชากร ปัจจุบันสงขลา มี ศสม.6แห่ง มีทันตบุคลากรประจำ 4 แห่ง คิดเป็นร้อยละ67
2.การลดระยะเวลาการรอคอย พัฒนาระบบการจัดบริการใส่ฟันเทียมแก่ผู้สูงอายุ ระยะเวลาการรอคอยคิวในการใส่ฟันเทียมของผู้สูงอายุ ผู้สูงอายุ ไม่เกิน 6 เดือน การมีส่วนร่วมของเอกชน (public-private)
ระยะเวลารอคอยใส่ฟันเทียม (เดือน)
2.การลดระยะเวลาการรอคอย พัฒนาหน่วยบริการให้สามารถจัดบริการ ทันตกรรมได้ตามมาตรฐาน - สัดส่วนจำนวนทันตแพทย์ทั่วไปต่อประชากร 1:10,000
แผนความต้องการทันตแพทย์
Dental safety goal(ทันตแพทยสภา) 3.ระบบบริการมีคุณภาพ พัฒนางานคุณภาพด้านทันตกรรมสามารถผ่านเกณฑ์การประเมินมาตรฐานคุณภาพ Dental safety goal(ทันตแพทยสภา)
การดำเนินงานที่ผ่านมา 3.ระบบบริการมีคุณภาพ การดำเนินงานที่ผ่านมา มีการจัดอบรม ในด้านวิชาการ ทันตบุคลากรทุกระดับทุกหน่วยบริการในจังหวัดสงขลา โดยสสจ.และทีมรพ.หาดใหญ่ เตรียมจัดตั้งทีมตรวจเยี่ยมการดำเนินงานในแต่ละรพ. มีแผนความก้าวหน้าดังนี้ 2557 : จะนะ ปาดังเบซาร์ 2558: สะเดา นาทวี นาหม่อม ระโนด สะทิ้งพระ ควนเนียง รัตภูมิ สิงหนคร เทพา 2559 : กระแสสินธุ์ สะบ้าย้อย บางกล่ำ คลองหอยโข่ง
4.ลดอัตราการเกิดโรค เด็กอายุ 3 ขวบ มีฟันผุในฟันน้ำนมไม่เกิน ร้อยละ 57 ลดอัตราการเกิดโรคฟันผุโดยเน้นในกลุ่ม 3 ขวบ ตัวชี้วัด เด็กอายุ 3 ขวบ มีฟันผุในฟันน้ำนมไม่เกิน ร้อยละ 57 หรือมีฟันผุลดลงร้อยละ 1 ต่อปี มีฟันผุในฟันน้ำนมไม่เกิน ร้อยละ 50 ในปี 2560
อัตราการเกิดฟันน้ำนมผุในเด็ก 3 ปี 4.ลดอัตราการเกิดโรค อัตราการเกิดฟันผุในกลุ่มอายุ 3 ปีและ 12 ปี ลดลงร้อยละ1ต่อปี อัตราการเกิดฟันน้ำนมผุในเด็ก 3 ปี 2552 2553 2554 2555 2556 77.35 77.76 77.73 69.90 69.6
แผนงานการดูแลสุขภาพช่องปาก เด็กแรกเกิด – 3 ปี แผนงานการดูแลสุขภาพช่องปาก เด็กแรกเกิด – 3 ปี กิจกรรม 1. บูรณาการร่วมกับโครงการสายใยรักแห่งครอบครัว (เยี่ยมหลัง/คลินิก WCC) 2.การจัดทำสื่อความรู้การดูแลสุขภาพช่องปาก "ตามช่วงอายุที่สำคัญ (4-6mo,9-12mo,15-18 mo 2-3y) 3.กิจกรรมฝึกทักษะแม่ในแต่ละช่วงวัย "แปรงฟันให้ลูกก่อนนอน" 4. พัฒนาศักยภาพ จนท/อสม. "การเยี่ยมบ้าน" 5. การตรวจสุขภาพช่องปาก 6. การใช้ฟลูออไรด์เสริม และระบบติดตาม มาตรการ : *สร้างความตระหนัก *สื่อประชาสัมพันธ์ *พัฒนาศักยภาพจนท. *การใช้ฟลูออไรด์วานิช
แผนงานการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กแรกเกิด – 3 ปี (ต่อ) ตัวชี้วัดกิจกรรม 1. เด็กอายุ 9-12 เดือน มีฟันผุในฟันน้ำนมไม่มากกว่า ร้อยละ 2 2. เด็กอายุ 18-24 เดือน มีฟันผุในฟันน้ำนมไม่มากกว่า ร้อยละ 20 3. เด็กต่ำกว่า 3 ปี ได้รับบริการตรวจฟันและผู้ปกครองได้รับการฝึกทักษะการแปรงฟัน ร้อยละ 70 (85 focal area) 4. เด็กต่ำกว่า 3 ปี แปรงฟันก่อนนอน ร้อยละ 70 (85 focal area) 4. เด็กต่ำกว่า 3 ปีได้รับฟลูออไรด์วานิช ร้อยละ 50 (70 focal area) เด็กอายุ 3 ขวบ มีฟันผุในฟันน้ำนมไม่มากกว่า ร้อยละ 57 ( ร้อยละ 50 ปี 60) หรือมีฟันผุลดลงร้อยละ 1 ต่อปี (ภาพรวมเขต 12 ปี 55 ร้อยละ 69.75)