โครงการบูรณาการงานสุขภาพจิตหรือจิตเวช สู่เครือข่ายนอกระบบสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2553

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย นายนิตย์ ทองเพชรศรี นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
Advertisements

การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
โดย โครงการช่วยกันสานเพื่อส่งเสริมคุณค่าผู้สูงอายุ
วัตถุประสงค์โครงการ 3.1 สร้างและพัฒนาศักยภาพเครือข่ายโดยการอบรมให้ความรู้ในการสร้างเสริมสุขภาพจิตในครอบครัวและในชุมชน 3.2 พัฒนาตัวอย่างการดำเนินงานสุขภาพจิตในครอบครัวและชุมชนนำไปสู่ชนชนเข้มแข็ง.
ตัวชี้วัดที่ 9 : ร้อยละความสำเร็จ ในการให้ความร่วมมือดำเนินงานตามคู่มือปฏิบัติงานกระบวนการ ที่สร้างคุณค่า และกระบวนการสนับสนุนของกรมอนามัย.
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
ตัวชี้วัดการดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหาร สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
แนวทางการดำเนินงานโครงการสำคัญ ปีงบประมาณพ.ศ.2554 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ของการบริหารความเสี่ยง
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
2 ผลการดำเนินงาน รอบ 9 เดือน ตัวชี้วัด / ข้อมูลพื้นฐาน ประกอบ ตัวชี้วัด น้ำหนั ก ( ร้อย ละ ) ผลการ ดำเนินงา น ค่า คะแนน ที่ได้ ค่า คะแนน ถ่วง น้ำหนัก.
- ร่าง - แบบรายงานผลการดำเนินงานของจังหวัดตามนโยบายรัฐบาล นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
รายประเด็น ปีงบประมาณ 2553
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
กองบัญชี สำนักการคลัง รับผิดชอบ ตัวชี้วัด ในมิติที่ 2
การประชุมคณะทำงานหมวด 4 ครั้งที่ 1/2554 (ครั้งที่ 1)
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
ผังการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีเพชร
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
โครงการพัตนาสุขภาพจิตครอบครัว
โครงการพัฒนาศูนย์วิกฤตสุขภาพจิต
- ร่าง - แบบรายงานผลการดำเนินงานของจังหวัดตามนโยบายรัฐบาล นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี
การดำเนินงานกรมสุขภาพจิต
โรงพยาบาลสวนสราญรมย์
การรายงานความก้าวหน้าในระบบ
ระดับเขต : สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
ตัวชี้วัด ปี 2548 คำรับรองการปฏิบัติราชการ มิติ 1 ประสิทธิผล
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
ตัวชี้วัดที่ 3 ระดับความสำเร็จในการพัฒนาบริการผู้ป่วยโรคจิตให้เข้าถึงบริการเพิ่มขึ้นในพื้นที่ เป้าหมาย จำนวนผู้ป่วยโรคจิตที่เข้าถึงบริการเพิ่มขึ้นร้อยละ.
“โครงการสร้างสุขระดับจังหวัด….” จากแผนงานสร้างเสริมสุขภาพจิต(สสส.)
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
MIND MAPงานสุขภาพศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
1. เสือปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 คณะที่ ๔ การพัฒนาสุขภาพ ภาคประชาชน ปี 2552 นพ. นิทัศน์ รายยวา ผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข.
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
การปฏิบัติตามแนวทางถ่ายโอนภารกิจฯ จังหวัดเพชรบูรณ์ 1
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด.
โครงการการพัฒนางานเชิงระบบ โดยกระบวนการวิจัยในงานประจำ (R2R)
วิธีการพัฒนาสถานศึกษาพอเพียงเป็นศูนย์การเรียนรู้ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา
ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ
การเตรียมจัดทำแผนปฏิบัติราชการปี 2553
ระบบบริหารจัดการบนหลักธรรมาภิบาล
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
กรมสุขภาพจิต. สรุปการดำเนินงาน โครงการรวมใจปรองดอง สมานฉันท์ กิจกรรมการ เยียวยาจิตใจ จำนวนรายชื่อผู้ได้รับผลกระทบ ผู้ได้รับบาดเจ็บและ ผู้เสียชีวิต ที่มีชื่อ.
ผลการสำรวจความต้องการ ความ คาดหวัง และความพึงพอใจ ของภาคีเครือข่ายด้านการส่งเสริม สุขภาพและพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่รับผิดชอบ ต่อศูนย์อนามัยที่
การชี้แจงตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ด้านคุณภาพบริการ ร้อยละของอาเภอที่มีทีม miniMERT, MCATT, SRRT คุณภาพ ธีราภา ธานี พยาบาลวิชาชีพชำนาญ.
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
ระบบส่งต่อ ยุทธศาสตร์ที่ 2 : พัฒนาและจัดระบบบริการที่มี คุณภาพมาตรฐาน ครอบคลุม ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการได้ ระบบส่งต่อ : มาตรการ : จัดทำระบบส่งต่อภายในเครือข่าย.
ยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาเครือข่าย/เสริมศักยภาพเครือข่าย จัดให้มีเวทีเสนอผลงาน แลกเปลี่ยนเรียนรู้และสรุปบทเรียน ยุทธศาสตร์ที่ 2 การรณรงค์ สร้างกระแสลดละเลิกบุหรี่และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
ศูนย์พัฒนาเครือข่ายบริการสุขภาพจิตและจิตเวช
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
การตรวจราชการและนิเทศงานฯ
แนวทางการบูรณาการ โครงการพัฒนาสุขภาพจิตใน เขต 11 และ 13 ประจำปีงบประมาณ
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
สกลนครโมเดล.
การกำกับดูแลโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพ และโฆษณาสถานพยาบาล
จังหวัดไร้พุงมุ่งสู่สุขภาพดี
โครงการ บูรณาการความร่วมมือภาคีเครือข่าย สร้างเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้ เพื่อผู้สูงอายุสุขภาพดี “80 ปี ยังแจ๋ว”
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
แนวทางการรายงาน ผลการปฏิบัติงานส่งเสริมการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
แนวทางการดำเนินการ พัฒนาระบบราชการกรมอนามัย ประจำปี 2553.
ยุทธศาสตร์พัฒนาชุมชนน่าอยู่ เมืองน่าอยู่ ผลงาน ปี 2551 แผนงาน ปี 2552 ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก 2 กันยายน 2551.
โรคอาหารเป็นพิษ วันที่ 26 – 27 พฤศจิกายน 2557 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สำนักโรคติดต่อทั่วไป.
กิจกรรมพัฒนาตลาดและเครือข่ายการผลิต
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการบูรณาการงานสุขภาพจิตหรือจิตเวช สู่เครือข่ายนอกระบบสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2553

วัตถุประสงค์ ถ่ายทอดองค์ความรู้หรือเทคโนโลยีฯ แก่เครือข่ายและประชาชน (นอกระบบสธ.) เพิ่มศักยภาพเครือข่ายนอกระบบสธ.ในการจัดการกับปัญหาสุขภาพจิตในพื้นที่

ตัวชี้วัดความสำเร็จ ร้อยละ 90 ของจังหวัดและ ร้อยละ10 ของจำนวนเขตในกรุงเทพมหานคร(5 เขต) เข้าร่วมโครงการฯ

ตัวชี้วัดความสำเร็จ ร้อยละ50ของจำนวนอำเภอในทุกจังหวัด 5 เขตในกรุงเทพมหานคร มีการการถ่ายทอดองค์ความรู้หรือเทคโนโลยีด้านสุขภาพจิตหรือจิตเวช ของกรมสุขภาพจิต

ตัวชี้วัดความสำเร็จ ร้อยละ 80 มีความรู้ด้านสุขภาพจิตหรือจิตเวชเพิ่มขึ้น ร้อยละ 85 มีความพึงพอใจต่อการ ดำเนินงานโครงการฯในระดับมากถึงมากที่สุด

ตัวชี้วัดความสำเร็จ ร้อยละ 50 ของจำนวนอำเภอในทุกจังหวัดที่เข้าร่วมโครงการมีเครือข่ายนอกระบบสาธารณสุขที่มีการบูรณาการงานสุขภาพจิตหรือจิตเวชเข้ากับการดำเนินงานปกติ

คำอธิบาย นอกระบบสาธารณสุข : เครือข่ายหรือประชาชน ไม่ได้สังกัดกระทรวงสาธารณสุข เช่น อปท. ชุมชน วัด โรงเรียน สถานประกอบการ ชมรมต่างๆ อสม. ฯลฯ

และ 10 เขตในกรุงเทพมหานคร พื้นที่เป้าหมาย ครอบคลุม 75 จังหวัด 877 อำเภอ และ 10 เขตในกรุงเทพมหานคร

แนวทางการดำเนินงานและการรายงานผล โครงการบูรณาการงานสุขภาพจิตหรือจิตเวช สู่เครือข่ายนอกระบบสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2553 (ฉบับร่าง)

ร่วมพิจารณาและปรับแก้ไข ส่งศูนย์สุขภาพจิตที่ 4 ภายในวันที่ 24 พฤศจิกายน 2552

กิจกรรมหลักในโครงการ ฯ 1. ประชุมชี้แจงแนวทางการบริหารโครงการฯ 2. สัมมนาแนวทางการบริหารโครงการฯ 3. การถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยีสุขภาพจิต 4. สัมมนาสรุปผลการดำเนินงานโครงการฯ

3. กิจกรรมการถ่ายทอดองค์ความรู้ ฯ 3.1 การเตรียมวิทยากรในพื้นที่ 3.2 การชี้แจงการดำเนินงาน(ให้กับผู้รับผิดชอบหลักในพื้นที่) 3.3 การพิจารณาแผนงาน / โครงการ 3.4 การถ่ายทอดองค์ความรู้ฯ

3. กิจกรรมการถ่ายทอดองค์ความรู้ ฯ 3.5การดำเนินกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพจิตในเครือข่ายนอกระบบสาธารณสุข (การขยายผล) 3.6 การติดตามผลการขยายผลฯ 3.7 การแลกเปลี่ยนเรียนรู้กิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพจิต

3.1 การเตรียมวิทยากรในพื้นที่ แบบฟอร์ม 3.1 (หน้า 26) เพื่อจัดทำทำเนียบวิทยากรของแต่ละองค์ความรู้ ส่งภายในวันที่ 30 เมษายน 2553

3.2 การชี้แจงการดำเนินงานแก่พื้นที่ หลักฐานการชี้แจงหรือประชุมที่เป็นลายลักษณ์อักษร ส่งภายในวันที่ 29 มกราคม 2553

3.3 การพิจารณาแผนงาน / โครงการ แบบฟอร์มการเขียนแผนงานโครงการ/ กิจกรรม (หน้า 27) แบบฟอร์มแผนงานโครงการ/กิจกรรม (หน้า 28) ส่งภายในวันที่ 15 มีนาคม 2553

3.4 การถ่ายทอดองค์ความรู้ฯ หลักฐานตามแนวทางหน้า 15 ได้แก่ หลักฐานการลงลายมือชื่อ/กำหนดการ/ ทำเนียบผู้เข้า/แบบวัดความรู้/แบบสรุปผลคะแนน/แบบประเมินสื่อ/แบบสรุปสื่อ/แบบสรุปความพึงพอใจ/สรุปผลการดำเนินงาน/ภาพพร้อมไฟล์/ฟอร์ม 3.1/แบบสรุปผล/แบบรายงานผลของกรมฯ

3.4 การถ่ายทอดองค์ความรู้ฯ หลักฐานตามแนวทางหน้า 15 เอกสารข้อ 1 ส่งภายใน 15 มี.ค. 53 เอกสารข้อ 2 – 11 ส่งภายใน 30 เม.ย. 53 เอกสารข้อ 12 – 13 ส่งทุกวันที่ 30 ของเดือน

3.5 การจัดกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพจิต (การขยายผล) 3.5 การจัดกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพจิต (การขยายผล) แบบฟอร์ม 3.5 (หน้า 46) ส่งภายใน 30 มิ.ย.53

3.6 การติดตามการจัดกิจกรรม สร้างเสริมสุขภาพจิต แบบฟอร์ม 3.6 (หน้า 47) ส่งภายใน 30 มิ.ย.53

3.7 การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ฯ แบบฟอร์ม 3.7 (หน้า 48) ส่งภายใน 30 มิ.ย.53

ผู้บริหารโครงการฯ นพ.วิเชียร ดีเป็นธรรม โทร 081 – 847 – 3360 โทร 081 – 847 – 3360 E – mail : toowich@hotmail.com

ผู้ประสานงานภาพรวม รตนภัส คงพันธ์ โทร 081 – 371 – 5234 โทร 081 – 371 – 5234 E – mail : ratanapat.k@dmh.mail.go.th