รองศาสตราจารย์ ดร. นครินทร์ เมฆไตรรัตน์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ตัวอย่างที่ดีของโครงการความร่วมมือเพื่อส่งเสริมธรรมาภิบาล
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
สรุปข้อเสนอแนะ กลุ่มผู้แทนหน่วยงานภาครัฐ เครือข่ายการมีส่วนร่วมภาคประชาชนระดับภูมิภาค.
หลักเกณฑ์การวิเคราะห์ความเสี่ยง ตามหลักธรรมาภิบาล
ประเด็นเน้นหนัก โครงการส่งเสริมและพัฒนาวิสาหกิจชุมชน 2550
หลักการสำคัญ ในการปรับปรุงกฎหมาย ว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 หมวด 9 เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
บทที่ 2 องค์การและการจัดการ.
โครงการ “การวางแผนจัดการแบบมีส่วนร่วมเพื่อความมั่นคงด้านน้ำในพื้นที่ จังหวัดสมุทรสงครามโดยใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์บนเว็บ” สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
Research Mapping.
การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตาม ตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ วันที่ 29 มกราคม 2551.
สำนักบริหาร การมีส่วนร่วมของประชาชน
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
ที่ว่าการอำเภอปะนาเระ
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการ
สรุปโครงสร้างของ (ร่าง) แผนยุทธศาสตร์
แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
ประเด็นยุทธศาสตร์ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ดื่มน้ำสะอาด
การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กับกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
Good Corporate Governance
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
6.การตั้งงบประมาณรายจ่าย หมวดเงินอุดหนุน ให้หน่วยงานอื่น
ยินดีต้อนรับผู้เข้าสัมมนาทุกท่าน
ผลสรุปการแบ่งกลุ่มย่อยประชุมวิชาการเชิงปฏิบัติการ
การบริหารความเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง ความเสี่ยง (RISK)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
การมีส่วนร่วมของประชาชน ในการบริหารราชการ
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ
ประชุมเพื่อประสานแผน การทำงาน การกำหนดเป้าหมาย และการติดตามกำกับงาน
การจัดโครงสร้างหน่วยงานภาครัฐ
แนวคิดความเชื่อมโยงระหว่างยุทธศาสตร์ โครงการ และงบประมาณ
การจัดการที่ดินทำกินและที่อยู่อาศัย โดยขบวนองค์กรชุมชนและท้องถิ่น
โดย วัชรินทร์ จำปี รองเลขาธิการ กศน.
การสร้างแผนที่ยุทธศาสตร์ปฏิบัติการย่อย (Mini-SLM)
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
กลุ่มที่ 1 ศูนย์สารสนเทศด้านสาธารณสุขและสุขภาพ 1. รองรับการเป็นสำนักบริหารยุทธศาสตร์ (OSM) เห็นด้วย เพราะ มีความเข้มแข็งสามารถชี้นำทิศทาง นโยบายและเป็นคลังสมองของ.
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
การสร้างความเข้มแข็งของ ระบบสนับสนุนยุทธศาสตร์. ความจริงที่เป็นอยู่ ( มายาวนาน )
การบริหารงานจังหวัดลพบุรีแบบ บูรณาการ กพร.- TRIS 18/05/2549.
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การมีส่วนร่วมของประชาชนในการบริหารราชการ และ ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จในการเปิดโอกาส ให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดง ความคิดเห็นและร่วมติดตามตรวจสอบผล.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการศึกษาพิเศษ
มุมมองการพัฒนาและขับเคลื่อน งานกองทุนฯอย่างยั่งยืน
การพัฒนาระบบวิจัยของประเทศ และการจัดทำนโยบายและยุทธศาสตร์
"เป็นหน่วยงานหลักในการประสาน และผลักดันยุทธศาสตร์กระทรวง
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
“ การตรวจราชการ บูรณาการเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพระบบบริหาร ”
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โดย ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ยุทธศาสตร์จังหวัดชัยนาท
ธรรมาภิบาลกับการจัดการภาครัฐแนวใหม่
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
จังหวัดนราธิวาส โครงการบำบัดทุกข์ บำรุงสุข แบบ ABC
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
การดำเนินงาน กศน.ตำบลให้ประสบความสำเร็จ
ประกอบด้วย จังหวัด 1. ลำพูน 2. อุบลราชธานี 3. สุพรรณบุรี 4. สุรินทร์
แผนที่ยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ
ความจำเป็นของเครือข่ายภาคประชาชนระดับภูมิภาค มีมากน้อยเพียงใด จำเป็นเพราะต้องแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ช่วยเหลือซึ่งกันและ กันเพื่อได้ประโยชน์ด้วยกัน มีการสร้างเครือข่ายในแต่ละภูมิภาค.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รองศาสตราจารย์ ดร. นครินทร์ เมฆไตรรัตน์ โครงการวิจัยเรื่อง การศึกษาและรวบรวมตัวอย่าง การบริหารกิจการบ้านเมืองแบบร่วมมือกัน (Collaborative Governance) ระหว่างภาครัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภาคธุรกิจเอกชน ภาคประชาสังคมและชุมชน” โดย รองศาสตราจารย์ ดร. นครินทร์ เมฆไตรรัตน์

วัตถุประสงค์ของโครงการ เพื่อรวบรวมตัวอย่างการบริหารกิจการบ้านเมืองแบบร่วมมือกัน (Collaborative Governance) ที่มีอยู่แล้วในปัจจุบัน เพื่อให้ทราบถึงปัจจัยหรือเงื่อนไขที่ทำให้การดำเนินงานของรัฐในลักษณะการประสานความร่วมมือระหว่างภาคส่วนต่าง ๆ (Collaborative Governance) ที่มีอยู่ในปัจจุบันเกิดความสำเร็จ ตลอดจนปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงาน และแนวทางแก้ไขหรือแนวทางเตรียมความพร้อมของภาครัฐในการพัฒนารูปแบบการบริหารกิจการบ้านเมืองแบบร่วมมือกันให้ก้าวหน้าต่อไป

แนวทางการดำเนินการศึกษาวิจัย แบบสำรวจ 564 ชุด 743 โครงการ สัมภาษณ์ 63 หน่วยงาน 84 คน ประชุมกลุ่มย่อย 5 ครั้ง การศึกษาเชิงลึก 10 กรณีศึกษา การจัดทำข้อเสนอการวิจัย

กรอบการศึกษาวิจัย

รูปแบบความร่วมมือ การประสานงานระหว่างหน่วยงาน (Co-ordination) การร่วมมือในการปฏิบัติงาน (Co-operation) การร่วมกันดำเนินภารกิจ (Collaboration)

การประสานงานระหว่างหน่วยงาน (co-ordination) การพบปะพูดคุย การประชุมทางการ การปรึกษาหารือ ประสานแผน ประสานข้อมูล

 การร่วมมือในการปฏิบัติงาน (co-operation)

 การร่วมกันดำเนินภารกิจ (collaboration) แบ่งสรรงบประมาณ แบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ หน่วยงาน ข หน่วยงาน ก หน่วยงาน ค เป้าหมาย ภารกิจ ร่วมกัน จัดทำข้อตกลง ออกกฎหมาย หน่วยงาน จ หน่วยงาน ง แบ่งสรรทรัพยากร แบ่งสรรทรัพยากรบุคคล

แนวทางการบริหารกิจการบ้านเมืองแบบร่วมมือกัน ระหว่างภาครัฐและภาคส่วนต่าง ๆ ในสังคม (Collaborative Governance) เป้าหมาย มุ่งสร้างกติกาการบริหารราชการแผ่นดินในระดับต่าง ๆ โดยคำนึงถึงความสัมพันธ์เชิงโครงสร้างระหว่างภาครัฐกับภาคส่วนต่าง ๆ เพื่อสร้างหลักประกันว่าประชาชนจะได้รับบริการสาธารณะขั้นพื้นฐานในระดับที่เพียงพออย่างเหมาะสมและเท่าเทียมกัน แนวทางการดำเนินงาน จัดระบบบริหารราชการให้เอื้อต่อการทำงานร่วมกันเป็นเครือข่ายกับภาคเอกชน องค์กรภาคประชาสังคม องค์กรชุมชน และภาคส่วนต่าง ๆ โดยส่งเสริม ผลักดันให้เกิดความร่วมมือในการทำงาน การประสานกันระหว่างหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชนและองค์กรประชาชนในลักษณะการบริหารงานในรูปแบบเครือข่าย (Network) ในลักษณะเป็นภาคี/พันธมิตร/หุ้นส่วน (Partnership) ในการจัดบริการสาธารณะ

บทบาทของภาครัฐ ปรับรูปแบบการทำงานของภาครัฐให้มีลักษณะเชิงบูรณาการเกิดการแสวงหาความร่วมมือและสร้างเครือข่ายกับฝ่ายต่าง ๆ รวมทั้งเปิดให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการจัดบริการสาธารณะ พัฒนารูปแบบ กลไก ระบบ และวิธีทำงาน เพื่อส่งเสริม สนับสนุนให้ภาคประชาสังคม และภาคประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม เช่น วางหลักเกณฑ์ให้แต่ละส่วนราชการจัดให้มีระบบการปรึกษาหารือกับประชาชน สำรวจความต้องการของประชาชนในโครงการที่มีผลกระทบต่อประชาชน และเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการออกแบบและให้ข้อคิดเห็นต่อการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐในการช่วยกันทำให้เกิดการบริการสาธารณะที่ดียิ่งขึ้น

บทบาทของภาคธุรกิจเอกชน - ร่วมขับเคลื่อนการบริหารกิจการสาธารณะผ่านการทำงาน ทำงานแบบหุ้นส่วนระหว่างภาครัฐ และภาคเอกชน (Public-Private Partnership - PPP) โดยผ่านการร่วมทุนในโครงการพัฒนาสำคัญ ๆ ของประเทศ - มีบทบาทในการร่วมพัฒนาคุณภาพชีวิตและความเป็นธรรมในสังคมผ่านการดำเนินกิจการสาธารณะโดยมีเป้าหมายเพื่อคืนกำไรตอบแทนสังคม (Corporate Social Responsibility: CSR) - ดำเนินกิจการธุรกิจที่มีเป้าหมายเพื่อยกระดับการเข้าถึงบริการสาธารณะพัฒนาคุณภาพชีวิตและประโยชน์สุขแก่สังคม (Social Enterprise)

บทบาทขององค์กรภาคประชาสังคมและองค์กรชุมชน - พัฒนาความรู้และความเข้าใจแก่เครือข่ายภาคประชาชนในการร่วมติดตามและประเมินผลการบริหารจัดการภาครัฐอย่างเป็นรูปธรรมและต่อเนื่อง - สร้างศักยภาพขององค์กรภาคประชาสังคมและองค์กรชุมชน ในการเข้าสู่กระบวนการมีส่วนร่วมขับเคลื่อนการบริหารกิจการสาธารณะ โดยผ่านการเข้าร่วมเป็นหุ้นส่วนกับหน่วยงานภาครัฐ (Public Social Partnership) - กระตุ้นและส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจ และความตระหนักในสำนึกพลเมืองในการร่วมดูแลรับผิดชอบต่อการปกป้องและอำนวยประโยชน์สาธารณะ ตลอดจนการอาสาเข้ามาเป็นหุ้นส่วนกับภาครัฐรวมถึงองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการขับเคลื่อนกิจการสาธารณะเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์สูงสุด

กลไกการบริหารกิจการบ้านเมืองแบบร่วมมือกันระหว่างภาครัฐกับภาคส่วนอื่น ๆ ในสังคม ประเภทภารกิจ รูปแบบการบริหาร กลไกทางการบริหาร บริการสาธารณะที่รัฐต้องสงวนบทบาทในฐานะผู้จัดบริการ (core function) การมอบหมายภารกิจให้หน่วยงานภาครัฐดำเนินการแทนกัน (in-house commissioning) การสร้างภาคีหุ้นส่วนระหว่างภาครัฐ (Public/Public Partnership) การสร้างองค์กรความร่วมมือระหว่างท้องถิ่น หรือ สหการ (Local Cooperation) บริการสาธารณะที่ภาครัฐจำเป็นต้องดำเนินการเอง แต่ในขณะเดียวกันก็สามารถมอบหมายให้องค์กรในภาคส่วนอื่นเข้ามีมีบทบาทร่วมดำเนินการแทนได้ด้วย (contracting in) การมอบหมายภารกิจบางส่วนให้องค์กรในภาคส่วนอื่น เช่น องค์กรภาคประชาสังคม องค์กรชุมชน เป็นต้น เข้ามาร่วมดำเนินการแทนรัฐ (strategic commissioning) การสร้างภาคีหุ้นส่วนระหว่างภาครัฐกับภาคประชาสังคมและชุมชน (Public Social Partnership)

กลไกการบริหารกิจการบ้านเมืองแบบร่วมมือกันระหว่างภาครัฐกับภาคส่วนอื่น ๆ ในสังคม (ต่อ) ประเภทภารกิจ รูปแบบการบริหาร กลไกทางการบริหาร บริการสาธารณะที่ภาครัฐไม่จำเป็นต้องมีบทบาทในการจัดทำบริการด้วยตนเอง แต่อาศัยการจัดซื้อบริการจากผู้จัดบริการสาธารณะรายอื่นเพื่อส่งมอบให้ประชาชนแทน (contracting out/ outsourcing) การเปิดให้เอกชนเข้ามาแข่งขันกันเพื่อรับมอบหมายดำเนินภารกิจแทนรัฐ (competitive commissioning) การเปิดสัมปทาน การจ้างเหมา บริการสาธารณะที่ภาครัฐไม่จำเป็นต้องมีบทบาทในการจัดทำหรือจัดหาอีกต่อไป เพราะสามารถมอบบทบาทหน้าที่ให้ภาคเอกชนดำเนินการแทนได้โดยตรง (opting out) การมอบหมายภารกิจให้ภาคเอกชนดำเนินการแทนรัฐทั้งกระบวนการ โดยที่รัฐถอนตัวจากบทบาทการจัดบริการสาธารณะนั้น (privatization) การร่วมลงทุนในรูปภาคีหุ้นส่วนภาครัฐและเอกชน (Public-Private Partnership) การแปรรูปรัฐวิสาหกิจ

ตัวอย่างการบริหารกิจการบ้านเมืองแบบร่วมมือกัน ระหว่างภาครัฐและภาคส่วนต่าง ๆ ในสังคม (Collaborative Governance) สถาบันการแพทย์ฉุกเฉิน การบริหารจัดการชลประทานโดยเกษตรกรมีส่วนร่วมของโครงการส่งน้ำและบำรุงรักษากระเสียว อำเภอด่านช้าง จังหวัดสุพรรณบุรี ศูนย์บริการร่วมกระทรวงแรงงาน อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก โครงการนา 1 ไร่ได้เงิน 1 แสน (โครงการร่วมระหว่างหอการค้าไทยกับชุมชน) โครงการ Hand in Hand อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ ศูนย์ประสานงานและบริหารจัดการขยะ อำเภอเกาะคา จังหวัดลำปาง ฐานการเรียนรู้ขับเคลื่อนสู่ตำบลสุขภาวะ (เทศบาลตำบลปริก จังหวัดสงขลา) โครงการนำช้างคืนถิ่นเพื่อพัฒนาบ้านเกิดสุรินทร์ (อปท.กับภาคประชาสังคม) ธนาคารปูโดยกลุ่มฟื้นฟูทรัยพากรปูม้า (ชุมชนกับชุมชน) ชุมชนเกาะเตียบ จังหวัดชุมพร