การวิเคราะห์ข้อสอบ อาจารย์ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์สมพงษ์ พันธุรัตน์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การแก้ปัญหานักเรียนที่ไม่จบหลักสูตร งานวัดผล โรงเรียนสุราษฎร์ธานี
Advertisements

หลักสูตรโรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย ในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2544
การสร้างแบบทดสอบ อาจารย์ ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์ สมพงษ์ พันธุรัตน์
รายงานการวิจัยในชั้นเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้
กระบวนการสร้างแบบทดสอบ อาจารย์พิมพ์ทอง สังสุทธิพงศ์
การวิเคราะห์ข้อสอบ อาจารย์ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์สมพงษ์ พันธุรัตน์
แนวคิดการจัดการเรียนรู้ และมาตรฐาน งานการวัดและประเมินผล ในสถานศึกษา
เทคนิคการประเมินผลการเรียนการสอน (การให้ระดับคะแนน:เกรด)
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ
การสร้างและการหาคุณภาพเครื่องมือวิจัย
การวิเคราะห์คุณภาพแบบทดสอบ (Test Quality Analysis)
การวางแผนการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
ระบบข้อสอบออนไลน์.
จ่ายค่าตอบแทนตามภาระงาน
การวิเคราะห์ ประมวลผล และนำเสนอข้อมูล
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
การตัดเกรด อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
การวัดพฤติกรรมทางด้านทักษะพิสัย
บทที่ 6 สถิติที่ใช้ในการ วัดผลการศึกษา. การวิเคราะห์ข้อสอบ ก่อนนำไปใช้  จุดมุ่งหมาย เพื่อนำผลการวิเคราะห์ ไปเป็นข้อมูลในการ ปรับปรุงแก้ไขข้อสอบ ก่อนที่จะนำข้อสอบไปใช้
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
การวิเคราะห์ข้อสอบ Item analysis.
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
การวัดและประเมินพัฒนาการของผู้เรียน
ผลงาน ความรู้ ความคิดของผู้เรียน ทักษะ การปฏิบัติ ของผู้เรียน คุณลักษณะ ค่านิยม คุณธรรม ของผู้เรียน.
การวิเคราะห์ข้อสอบ ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
การวิจัยและพัฒนาผู้เรียนด้วย E-Learning
บทที่ 7 การวิเคราะห์ความเชื่อถือได้
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ สาระ ดนตรี เรื่อง การเรียนดนตรีพื้นบ้านของจังหวัดน่าน.
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
แบบทดสอบอิงกลุ่มอิงเกณฑ์
มาตรฐานการวัด การประเมินและ การประกันคุณภาพภายใน
หลักสูตรพัฒนาความสามารถในการสร้างเครื่องมือ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ สำนักทดสอบทางการศึกษา สพฐ.
การให้ระดับผลการเรียน
ภายใต้โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555 แผนฟื้นฟูเศรษฐกิจ ระยะที่ 2 : โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา.
แผนกบริหารธุรกิจ โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี ”
การสร้างและการหาคุณภาพเครื่องมือวิจัย
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาสอบไม่ผ่านเกณฑ์คะแนน 60% ในรายวิชาหลักการตลาด โดยใช้วิธีการสอน ( เพื่อนช่วยเพื่อน) ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.1/3.
คณะผู้จัดทำ นายอรรถวัฒน์ ราชา นายสุรพล ยอดคำลือ
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต อำเภอเมือง จังหวัด ภูเก็ต
การนำเสนอและการประเมินผลโครงงาน
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ผู้วิจัย อาจารย์พิศมัย เดชคำรณ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
จัดทำโดย น.ส. อมรทิพย์ พึ่งเพียร
การวิเคราะห์คุณภาพแบบทดสอบ (Test Quality Analysis)
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
นายสุชาติ ประวัติ วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค)
ผศ.สุโกศล วโนทยาพิทักษ์
ชื่อผู้วิจัย นายอภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
อาจารย์แผนกช่างก่อสร้าง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
จัดทำโดย จรัสศรี ดอนชัย วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการเชียงราย
บท นำ ความ เป็นมา และ ความสำ คัญของ ปัญหา การเรียนการสอนที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน มี วัตถุประสงค์ประการหนึ่ง คือมุ่งปลูกฝังให้นักเรียน ได้ใฝ่รู้ใฝ่เรียนการปลูกฝังให้นักเรียนรักการอ่านจึงมี
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านจับ ใจความภาษาอังกฤษโดยใช้ชุดแบบฝึก เสริมทักษะของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1/1.
ชื่อผู้วิจัย จิติวัฒน์ สืบเสนาะ วิทยาลัยเทคโนโลยีระยองบริหารธุรกิจ
ชื่อเรื่อง การพัฒนาทักษะ การอ่าน
การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกการอ่านของนักเรียนระดับ ปวช
ผศ.ดร.ภัทรวรรธน์ จีรพัฒน์ธนธร
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
ผู้วิจัย : นางสาวสรชา เฟื่องสังข์
ผู้วิจัย อาจารย์เรณู เอกลักษณ์ไพศาล
วิทยาลัยเทคโนโลยีชุมพรบริหารธุรกิจ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร
การทดลองใช้เอกสารประกอบการเรียน ในวิชาบัญชีเบื้องต้น 2
นายวีรพล ยิ้มย่อง สังกัด วิทาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
การประเมินหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพพุทธศักราช 2545 (ปรับปรุง พ. ศ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การวิเคราะห์ข้อสอบ อาจารย์ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์สมพงษ์ พันธุรัตน์ อาจารย์ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์สมพงษ์ พันธุรัตน์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

การวิเคราะห์ข้อสอบ คุณภาพ ของข้อสอบ ผลการตอบข้อสอบ ของผู้เรียน 1. ข้อสอบได้ทำหน้าที่ตามที่ครูตั้งใจไว้หรือไม่ * จำแนกนักเรียน เก่ง-อ่อน ได้หรือไม่ * วัดผลที่เกิดจากการเรียนการสอนได้ดีเพียงใด 2. ข้อสอบมีความยากพอเหมาะหรือไม่ 3. ข้อสอบไม่ถามนอกเรื่อง หรือมีข้อบกพร่อง หรือไม่ 4. ตัวลวงมีประสิทธิภาพเพียงใด

ประโยชน์ของการวิเคราะห์ข้อสอบ 1. ปรับปรุงข้อสอบ 2. อภิปรายผลการสอบของผู้เรียน 3. ทราบจุดอ่อนของผู้เรียน ช่วยการสอนซ่อมเสริม 4. ปรับปรุงการเรียนการสอน, หลักสูตร 5. เพิ่มทักษะการสร้างข้อสอบ

การวิเคราะห์ข้อสอบอิงกลุ่ม 1. ตรวจข้อสอบ 2. เรียงกระดาษคำตอบของ ผู้เรียน จากคะแนนรวมสูงไปต่ำ 3. แบ่งครึ่งกระดาษคำตอบ กลุ่มสูง/กลุ่มต่ำ 4. นับจำนวนผู้เรียนที่เลือกตอบตัวเลือก แต่ละตัวในกลุ่มสูงและกลุ่มต่ำ 5. คำนวณค่าความยาก (P) ของข้อสอบ 6. คำนวณค่าอำนาจจำแนก (D) ของข้อสอบ 7. ประเมินประสิทธิภาพของตัวลวง

ค่าความยาก (P) สัดส่วนของผู้เรียนที่ตอบข้อสอบถูก RH = จำนวนคนตอบถูกในกลุ่มสูง RL = จำนวนคนตอบถูกในกลุ่มต่ำ NH = จำนวนคนในกลุ่มสูง NL = จำนวนคนในกลุ่มต่ำ ค่า P มีค่าอยู่ระหว่าง 0 ถึง 1.00 P น้อย (เข้าใกล้ศูนย์) ข้อสอบยาก P มาก (เข้าใกล้หนึ่ง) ข้อสอบง่าย ข้อสอบที่ดีค่า P อยู่ระหว่าง .20 ถึง .80

ค่าอำนาจจำแนก (D) สัดส่วนของผู้เรียนในกลุ่มสูงที่ตอบข้อสอบถูกมากกว่าผู้เรียนในกลุ่มต่ำ ค่า D มีค่าอยู่ระหว่าง -1.00 ถึง +1.00 ค่า D เป็นบวก : นักเรียนกลุ่มสูงตอบถูกมากกว่ากลุ่มต่ำ ค่า D เข้าใกล้ศูนย์ : กลุ่มสูงตอบถูกใกล้เคียงกับกลุ่มต่ำ ค่า D เป็นลบ : กลุ่มสูงตอบถูกน้อยกว่ากลุ่มต่ำ ข้อสอบที่ดี ค่า D ตั้งแต่ .20 ขึ้นไป

ค่า P ความหมาย .81 - 1.0 ง่ายมาก .61 - .80 ค่อนข้างง่าย การแปลความหมาย ค่า P, D ค่า P ความหมาย .81 - 1.0 ง่ายมาก .61 - .80 ค่อนข้างง่าย .41 - .60 ยากง่ายปานกลาง .21 - .40 ค่อนข้างยาก .00 - .20 ยากมาก ค่า D ความหมาย .40 ขึ้นไป ดีมาก .30 - .39 ดีพอสมควร .20 - .29 พอใช้ได้ ต่ำกว่า .20 ใช้ไม่ได้

1. ข้อใดคือข้อที่เหมือนกันของหัตถกรรมและอุตสาหกรรม ก. วิธีการผลิต ข. ราคาผลผลิต ค. ความต้องการของตลาด ง. คุณภาพผลผลิต 2. ในพื้นที่ที่มีไม้ไผ่มาก นักเรียนคิว่าควรจะประกอบอาชีพใด มากที่สุด ก. ช่างทำเครื่องหนัง ข. ช่างจักสาน ค. ช่างแกะสลัก ง. ช่างทอผ้า

3. นักเรียนมีวิธีการแก้ดินเปรี้ยวอย่างไร ก. ใส่ปูนขาว ข. ใส่ปุ๋ยอัมโมเนียเพิ่ม ค. พรวนดินบ่อยๆ ง. ปลูกพืชตระกูลถั่ว 4. ด.ช.แดงเลือกซื้อผลไม้ที่สหกรณ์ครู โดยไม่ไปซื้อที่แผงลอย นักเรียนคิดว่ามาจากเหตุผลใด ก. ร้านที่สหกรณ์ครูถูกกว่า ประหยัดเงิน ข. ร้านที่สหกรณ์อยู่ใกล้บ้าน ค. ร้านที่สหกรณ์ อาหารมีคุณภาพ สะอาด ง. ร้านที่สหกรณ์มีการแบ่งผลกำไร

5. ข้อใดถูกต้องมากที่สุด ก. อำนาจนิติบัญญัติ ---- บริหารประเทศ ข. อำนาจบริหาร ---- ปกครองประเทศ ค. อำนาจตุลาการ ---- ออกกฎหมาย ง. อำนาจนิติบัญญัติ ---- ออกพระราชกำหนด

ข้อสอบค่อนข้างยาก ไม่มีอำนาจจำแนก ข้อสอบง่ายมาก มีอำนาจจำแนกพอใช้ ตัวลวง ค. ไม่ดี

ข้อสอบค่อนข้างยาก อำนาจจำแนกดีมาก ตัวลวง ข. ไม่ดี ข้อสอบค่อนข้างยาก อำนาจจำแนกไม่ดี ข้อสอบยากมาก อำนาจจำแนกดีพอควร

ข้อสอบที่ใช้ได้ กราฟแสดงคุณภาพของข้อสอบ P 1.0 .9 2(.9,.2) .8 .7 .6 .5 .4 .3 .2 .1 2(.9,.2) ข้อสอบที่ใช้ได้ 4(.3,-.4) 3(.3,.4) 1(.2,0) 5(.16,.3) -.4 -.3 -.2 -.1 .1 .2 .3 .4 .5 .6 .7 .8 .9 1.0 D

บัตรข้อสอบ (ด้านหน้า) ข้อสอบวิชา …………………………… ชั้น …….. เรื่อง ………………………. จุดประสงค์ …………………………………………………….. ………………. ระดับพฤติกรรม …………………………………………………………………. ข้อสอบ ………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………. เฉลย …………………………………………………………………………. ผู้ออกข้อสอบ …………………………………… วันที่ ………………………...

บัตรข้อสอบ (ด้านหลัง) บันทึกการใช้ข้อสอบ ครั้งที่ วันที่สอบ การสอบ ค่า P ค่า D _____ __/___/___ ___________________________ _____ _____

การวิเคราะห์ข้อสอบอิงเกณฑ์ แบบทดสอบที่จะวิเคราะห์ข้อสอบ 1. แบบทดสอบที่ครูผู้สอนสร้างขึ้นเองเพื่อ ใช้วัดการรอบรู้ (mastery)/ไม่รอบรู้ (nonmastery) หรือ การผ่าน (pass)/ ไม่ผ่าน (fail) ในแต่ละจุดประสงค์การเรียนรู้ 2. แยกข้อสอบที่วัดในแต่ละจุดประสงค์ เพื่อวิเคราะห์ข้อสอบ แยกเป็นอิสระจากกัน 3. แบบทดสอบประกอบด้วยข้อสอบแบบปรนัย ที่มีการให้คะแนนเป็นแบบ 1-0 4. กำหนดคะแนนจุดตัด (cut-off score) 5. ใช้สำหรับการสอบผู้เรียนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง เพียงครั้งเดียว เช่นการสอบหลังเรียน

ขั้นตอนการวิเคราะห์ข้อสอบ 1. ตรวจให้คะแนนผลการตอบข้อสอบ (ตอบถูกให้ 1 ตอบผิดให้ 0) 2. รวมคะแนนและตัดสินการผ่าน (P) หรือไม่ผ่าน (F) จุดประสงค์การเรียนรู้ 3. แยกกระดาษคำตอบของนักเรียนเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มที่ผ่าน (P) และ กลุ่มที่ไม่ผ่าน (F) 4. บันทึกผลการตอบข้อสอบแต่ละข้อของนักเรียนแต่ละกลุ่ม แยกกลุ่มละตาราง 5. นับจำนวนนักเรียนที่ตอบข้อสอบแต่ละข้อถูกในกลุ่มที่ผ่าน (RP) 6. นับจำนวนนักเรียนที่ตอบข้อสอบแต่ละข้อถูกในกลุ่มที่ไม่ผ่าน (RF) 7. คำนวณค่าความยากง่ายของข้อสอบ (ค่า P) และค่าอำนาจจำแนกของข้อสอบ (ดัชนี B)

ค่าความยากง่ายของข้อสอบ (ค่า P) สัดส่วนของจำนวนผู้เรียนที่ตอบข้อสอบถูกต้อง RP = จำนวนผู้เรียนในกลุ่มผ่าน ที่ตอบข้อสอบถูก RF = จำนวนผู้เรียนในกลุ่มไม่ผ่าน ที่ตอบข้อสอบถูก NP = จำนวนผู้เรียนในกลุ่มที่ผ่าน NF = จำนวนผู้เรียนในกลุ่มที่ไม่ผ่าน การแปลความหมาย ค่า P จะมีค่าตั้งแต่ 0 ถึง 1.00 ค่า P น้อย (ค่าเข้าใกล้ 0 ) เป็นข้อสอบที่ยาก ค่า P มาก (ค่าเข้าใกล้ 1 ) เป็นข้อสอบที่ง่าย

ค่าอำนาจจำแนกของข้อสอบ (ค่าดัชนี B) RP = จำนวนผู้เรียนในกลุ่มผ่าน ที่ตอบข้อสอบถูก RF = จำนวนผู้เรียนในกลุ่มไม่ผ่าน ที่ตอบข้อสอบถูก NP = จำนวนผู้เรียนในกลุ่มที่ผ่าน NF = จำนวนผู้เรียนในกลุ่มที่ไม่ผ่าน การแปลความหมาย ค่า B จะมีค่าตั้งแต่ -1.00 ถึง 1.00 ค่า B เป็น ลบ เป็นข้อสอบที่ไม่ดี ค่า B เข้าใกล้ 0 เป็นข้อสอบที่ไม่มีอำนาจจำแนก ค่า B เป็น บวก เป็นข้อสอบที่ที่มีอำนาจจำแนก คือกลุ่มที่ผ่านตอบถูกมากว่ากลุ่มที่ไม่ผ่าน

ข้อสอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 ค่า P 1.00 0.90 0.70 0.80 0.40 ค่า B 0.00 0.25 0.75 0.08 0.67