โฆษณาปฏิบัติธรรมทั่วประเทศ โดย เสถียรธรรมสถาน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื่อง การบริหารจิตเพื่อสุขภาพ
Advertisements

นายกสภา มหาวิทยาลัยมหิดล
พุทธธรรม นำบุคลิกภาพ อ.วิยะดา วรธนานันท์ สำนักการศึกษาต่อเนื่อง
หน้าที่ของผู้บริหาร.
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
ลักษณะของหลักสูตร หลักสูตรที่เน้นเนื้อหาเป็นหลักสำคัญ
บุญ ๑๐ วิธี ๑ . ให้ทาน แบ่งปันผู้อื่นด้วยสิ่งของไม่ว่าจะให้ใครก็เป็นบุญสิ่งของที่เราแบ่งปันจะเป็นประโยชน์กับบุคคลหรือชุมชนโดยส่วนรวม.
พลเมืองเรื่องดีในวิถีชีวิตประชาธิปไตย
โรงเรียนนาคนาวาอุปถัมภ์ เขตสวนหลวง กรุงเทพมหานคร
เศรษฐกิจพอเพียง.
ชื่อเรื่อง ไตรสิกขาพัฒนาสุขภาพจิต จัดทำโดย ด. ช
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
เรื่องไตรสิขาพัฒนาสุขภาพจิต
สิ่งฟุ่มเฟือย การบริโภค สิ่งจำเป็น.
บทที่ 6 ค่านิยมในสังคมไทย
พลเมืองดีตามประเพณี และวัฒนธรรมไทย
การปรับตัวและการเลือกคู่ครอง
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง
องค์การสมัยใหม่ (Modern organization) หมายถึง การที่มีกลุ่มคนมาทํางาน ร่วมกันอย่างเป็นระบบ เพื่อให้ได้บรรลุเป้าหมายอย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่งองค์สมัยใหม่การมีลักษณะร่วมกันอยู่
เดินตามพ่อ อยู่อย่างพอเพียง หน้าหลัก ออกโปรแกรม.
นางสาวรัชดา สุทธิวรวุฒิกุล
มนุษย์จะได้ชื่อว่าเป็นผู้ที่มีคุณภาพชีวิตที่ดีได้ ก็เพราะการรู้จักเลือกประกอบกิจกรรมนันทนาการ สรุปเนื้อหาสาระจาก นันทนาการและการจัดการ พีระพงศ์ บุญศิริ
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดสิงห์บุรี
พระพุทธศาสนา ฝึกคนไม่ให้ประมาท.
กระบวนการอริยสัจ 4 เพื่อการแก้ไขปัญหา
วิชาชีพครูไทยในปัจจุบันและอนาคต
ความเปลี่ยนแปลงที่มีผลกระทบต่อการศึกษาและวิชาชีพครู ในปัจจุบันและอนาคต
เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม
ธรรมนูญชีวิตที่ดีงาม
เศรษฐกิจพอเพียง ด.ญ.กิตติมา สุภโรจนีย์ ป.4/6
ด.ช.ณัฐนันท์ขาววิเศษ เลขที่1ป4/6
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
กระบวนการศึกษา ๑.รู้ ๔.นิสัยดี ๕.บุญ ๓.ปฏิบัติ ๒.เข้าใจ คำสอน จากครูดี
๒.๒.๒ ลักษณะและคำสอนสำคัญ ๑) ลักษณะสำคัญของพระพุทธศาสนา ปัญญา
เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาชี้ถึงแนวทางการดำรงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดำเนินไปในทางสายกลางโดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัฒน์
K M กจ. ประจำเดือนมีนาคม 2551
วัยรุ่นกับปัจจัยทางสังคมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ
รู้และเข้าใจเรื่องของชีวิต
Ombudsman Talk.
การเพิ่มผลผลิต Productivity
เกร็ดความรู้ที่เยาวชนไทยควรทราบ
เกร็ดความรู้ที่เยาวชนไทยควรทราบ
วันอาสาฬหบูชา.
ตามแนวพระราชดำริในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ความยากจนกับสังคมไทย ปัญหาและทางออก
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
สถาบันศาสนา หมายถึง แบบแผนของความคิดการกระทำในเรื่องเกี่ยวกับ จิตใจ ความเชื่อทางสังคม ทางศาสนา และเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรม ประกอบด้วย 3 ประการ คือ.
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
มรรค : ธรรมที่ควรเจริญ
บทที่ 2 พุทธธรรมกับสังคม.
คุณธรรมนักปกครอง กับค่านิยมหลักของคนไทย นายประดิษฐ์ ยมานันท์
แนวทางการสอนเพื่อพัฒนาทักษะเด็กตามรูปแบบ การสอนแบบโครงงาน/โครงการ
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
“การเสริมสร้างชีวิตให้เป็นสุข”
จุดมุ่งหมายของพระพุทธศาสนา
บทที่ 2 ทฤษฏีจริยธรรม.
อริยสัจ 4.
จิตวิทยาเพื่อ ชีวิตและการ ทำงาน อาจารย์สุริยัน อ้นทองทิม.
เศรษฐกิจพอเพียง โดย ด.ช.พีรดนย์ ศรีสอน.
พระพุทธศาสนากับการจัดระเบียบสังคม
การประกวดแข่งขันผลงานวิจัย และนวัตกรรมสื่อสารสอนทางอาชีวศึกษา
จัดทำโดย ชื่อนายฤทธิ์รงค์ ลิ้มม่วงนิล ช่างยนต์ ปวช.1 เลขที่19
จัดทำโดย ด.ช. ดิเรกรัตน์ ด่านลัมจาก เลขที่3
จะสำเร็จได้ด้วย ความพอดีของตน
GO!!.
“ชีวิตมีคุณค่า พึ่งพาเศรษฐกิจพอเพียง”
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสหกรณ์ออมทรัพย์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โฆษณาปฏิบัติธรรมทั่วประเทศ โดย เสถียรธรรมสถาน วัตถุประสงค์ เพื่อเชิญชวนให้ประชาชนหันมาสนใจการปฏิบัติธรรม เพื่อประโยชน์ในการใช้ชีวิตและพัฒนาด้านจิตใจ เพื่อเป็นการฉลองการตรัสรู้ 2,600 ปี ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า

โฆษณาชุด “ดวงตาเห็นธรรม” ประกอบด้วยธรรมโฆษณา 6 เรื่อง “ชีวิตก็ดีอยู่แล้ว ทำไมต้องปฏิบัติธรรม”

“ธรรมสวัสดี”

1. ชาวพุทธ

2. ลมหายใจ

3. ไม่อยาก ก็ไม่ทุกข์

4. ทรัพย์ เงินทอง เกียรติยศและชื่อเสียง เมื่อสิ้นลมหายใจ เอาไปไม่ได้ เอาไปได้แต่กรรม

5. ทุกข์มีไว้ให้เห็น ไม่ได้มีไว้ให้เป็น

6. ชีวิตก็ดีอยู่แล้ว ทำไมต้องปฏิบัติธรรม

6. ชีวิตก็ดีอยู่แล้ว ทำไมต้องปฏิบัติธรรม

แนวคิดจากธรรมโฆษณา “การปฏิบัติธรรม” จากธรรมโฆษณา “การปฏิบัติธรรม” ในครั้งนี้ ได้ให้แนวคิดและซึมซับเอาหลักธรรม เพื่อให้ดวงตาเห็นธรรมในการใช้ประโยชน์ในการดำเนินชีวิตและพัฒนาด้านจิตใจ โดยที่เราจะได้อยู่อย่างไม่ประมาท เข้าใจว่าทุกอย่างเปลี่ยนแปลงได้ และรู้จักรับมือกับสิ่งที่เกิดขึ้นอย่างมีสติ และการทำผิดศีล ถือเป็นสิ่งที่ยอมรับไม่ได้ สำหรับชาวพุทธส่วนใหญ่

การนำหลักธรรมของศาสนามาปรับใช้ในวิถีชีวิต ด้วยการเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจให้มีสำนึกในคุณธรรมที่เหมาะสมในการดำเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติปัญญา และมีความรอบคอบเพื่อให้สมดุล และพร้อมรับกับความเปลี่ยนแปลงที่เป็นไปอย่างรวดเร็ว อีกทั้ง สามารถดำเนินชีวิตประจำวันได้อย่างพอประมาณและมีเหตุผล จากเหตุการณ์ปัญหาต่าง ๆ ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม ทำให้คนในสังคมต้องการได้รับการพัฒนาทางด้านจิตใจ เพื่อให้สามารถอยู่ในสังคมอย่างสงบสุข

การนำหลักธรรมของศาสนามาปรับใช้ในวิถีชีวิต การปฏิบัติธรรมในวิถีชีวิตเพื่อน้อมนำหลักธรรมคำสอนสู่การปฏิบัติ เพื่อให้เกิดความสงบร่มเย็นทางจิตใจและนำไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติได้ในวิถีชีวิตได้เป็นอย่างดี เพราะมนุษย์เราทุกคนต้องการชีวิตที่ดีและมีความสุขที่แท้จริง หลักในการสร้างชีวิตที่ดีและมีความสุข ก็คือ การเข้าถึงธรรมนั่นเอง

การปฏิบัติธรรมนั้น ได้แก่ การดำเนินตามหลักการแก้ปัญหาด้วยวิธีการของอริยสัจ 4 1. ทุกข์ คือ ตัวปัญหา หน้าที่ต่อปัญหาหรือความทุกข์ ก็คือ หน้าที่ที่เรียกว่า ทำความรู้จัก หรือเรียกว่า กำหนดรู้ รู้จักว่าทุกข์ คือ อะไร แล้วก็เรียนรู้สิ่งที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กับปัญหานั้นทั้งหมด เราไม่มีหน้าที่ทุกข์ แต่เรามีหน้าที่รู้จักทุกข์ คือ รู้จักตัวปัญหาตามที่เป็นจริง 2. สมุทัย คือ เหตุของทุกข์ สาเหตุของความทุกข์ ไม่ใช่กำจัดปัญหา ปัญหานั้นเรากำจัดไม่ได้ เราแก้ปัญหาด้วยการกำจัดเหตุของมัน

การปฏิบัติธรรมนั้น ได้แก่ การดำเนินตามหลักการแก้ปัญหาด้วยวิธีการของอริยสัจ 4 3. นิโรธ คือ ความดับทุกข์ เมื่อรู้ว่ามันคืออะไรและเป็นไปได้แล้ว เราก็มีหน้าที่ต่อมัน คือ บรรลุถึง หรือ เข้าถึง 4. มรรค เป็นทางเดิน ก็คือ ข้อปฏิบัติ ซึ่งเรามีหน้าที่ คือ ลงมือทำ อานิสงค์จากการปฏิบัติธรรมส่งผลให้ ดังนี้ 1.มีวินัยในตัวเอง 3 ประการ คือ 1) รู้จักระวังตัว 2) รู้จักควบคุมตัวได้ 3) รู้จักเชื่อฟังผู้ใหญ่ ถ้าเป็นเด็กจะไม่เถียงผู้ใหญ่

อานิสงค์จากการปฏิบัติธรรมส่งผลให้ 2. มีกิจนิสัย 4 ประการ คือ 1) ขยันไม่จับจด รักงาน สู้งาน 2) ประหยัด รู้จักใช้ชีวิตและทรัพย์สินอย่างถูกต้องและคุ้มค่า 3) พัฒนา รู้จักพัฒนาตัวเอง และอาชีพให้ดีขึ้น 4) สามัคคี รักครอบครัว รักหมู่คณะ และรักประเทศชาติ 3. มีลักษณะนิสัย 4 ประการ คือ 1) มีสัมมาคารวะ 2) อุตสาหะพยายาม 3) ปฏิบัติตามระเบียบวินัย 4)รู้จักเด็ก รู้จักผู้ใหญ่ วางตัวได้เหมาะสม

อานิสงค์จากการปฏิบัติธรรมส่งผลให้ 4. มีความรู้คู่กับคุณธรรมเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต 4 ประการได้ คือ 1) รู้จักคิด 2) รู้จักปรับตัว 3) รู้จักแก้ปัญหา 4) มีทักษะในการทำงานและค่านิยมที่ดีงามในอนาคต เจ้านายทิ้งลูกน้องไม่ได้ ลูกน้องทิ้งเจ้านายไม่ได้ เข้าหลักที่ว่า ผู้ใหญ่ดึง ผู้น้อยดัน คนเสมอกันจะได้อุปถัมภ์ค้ำจุน