กฎหมายการแพทย์และจริยศาสตร์ ดร.สุรชาติ ณ หนองคาย ภาควิชาบริหารงานสาธารณสุข คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
ปรัชญา ความหมายที่ครอบคลุมอย่างน้อยควรแสดงถึงเป้าหมายและวิธีการ การมีและใช้ปัญญาเพื่อแสวงหาให้ได้มาซึ่งปัญญา ปัญญาเป็นทั้งเป้าหมายและวิธีการสำหรับปรัชญา การกระทำซ้ำจนตกผลึกมาให้ได้มาซึ่งแนวคิด ทฤษฎี และ พัฒนาต่อยอดจนเป็นศาสตร์ คือการวิจัย
ศาสตร์และระบบ ศาสตร์ หมายถึง “ระบบวิชาความรู้” ระบบ หมายถึง “ กลุ่มของสิ่งซึ่งมีลักษณะประสานเข้าเป็นสิ่งเดียวกันตามหลักแห่งความสัมพันธ์สอดคล้องกันด้วยระเบียบของธรรมชาติหรือหลักเหตุผลทางวิชาการ” วิชา หมายถึง ความรู้, ความรู้ที่ได้จากการฝึกฝนหรือประสบการณ์ วิชาการ หมายถึง ความรู้สาขาใดสาขาหนึ่งหรือหลายสาขา
กระบวนทัศน์ “ฐานเชื่อและฐานคิดที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจหรือกระทำการของประชาคมหนึ่งๆ” ฐานคิดเป็นการใช้เหตุผลนำมาสู่การตัดสินใจหรือกระทำการ กลุ่มที่มีและใช้ฐานคิดเดียวกันเรียกว่า “สำนักคิด” เชื่อ คิด ทำ, เชื่อ ทำ คิด เชื่อ ทำ, คิด ทำ
การพัฒนาของมโนธรรม มโนธรรม คือ ความรู้สึกผิด ชอบ ชั่วดี ความรู้สึกว่าอะไรควรทำ อะไรไม่ควรทำ กลัวโทษในโลกนี้ หวังบำเหน็จในโลกนี้ ยึดเกณฑ์สังคมเป็นตัวตัดสิน ยึดเกณฑ์เสียสละในโลกนี้เพื่อความสุขในโลกหน้า ยึดเหตุผลทางวิทยาศาสตร์เพื่อตนและเพื่อนมนุษย์ ยึดวิจารณญาณเป็นเกณฑ์ตัดสิน
สำนักคิดสำคัญ สุขนิยม เช่น โซฟิสต์ รตินิยม เอพิคิวเรียน สโตอิก ซีนิก ปัญญานิยม เช่น โสเครติส เพลโต อริสโตเติ้ล ศาสนนิยม เช่น พระเจ้าหลายองค์ พระเจ้าองค์เดียว ธรรมชาติ ประโยชน์นิยม หน้าที่นิยม ประเพณีนิยม เหตุผลนิยม
ศาสนา ปกครอง ทุรเวช ศาสนา หมายถึง ลัทธิความเชื่อของมนุษย์ ปกครอง หมายถึง ดูแล คุ้มครอง ระวังรักษา บริหาร ทุรเวช หมายถึง ประกอบเวชกรรมโดยต่ำกว่ามาตรฐาน และหรือ จริยธรรมฝจรรยาบรรณ