กลุ่มที่ 1 สถาบันที่มี IBC

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผลประเมินสถานภาพและ ข้อเสนอมาตรการสร้างความเข้มแข็ง IBC ของประเทศไทย
Advertisements

การเสริมสร้างความเข้มแข็ง ของระบบบัณฑิตศึกษา 14 กุมภาพันธ์ 2550.
ชี้แจงการสัมมนากลุ่มย่อย
สรุปผลการทบทวนความเสี่ยง องค์การจัดการน้ำเสีย ประจำปี 2551
ขั้นตอนการเสนอแบบประเมินและพิจารณาโครงการวิจัย
กลุ่มที่ 2 สถาบันที่ยังไม่มี IBC
กลุ่มที่ 2 สถาบันที่ยังไม่มี IBC
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
หลักการวางแผนประชาสัมพันธ์
สกาวรัตน์ พวงลัดดา สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติ
ข้อควรคำนึงในการสร้างเครือข่าย
รายงานประจำปี การประเมินคุณภาพ 2551 ปีการศึกษา/ปีงบประมาณ
เพื่อรับการประเมินภายนอก
การบริหารความเสี่ยง และการวางระบบควบคุมภายใน
การประเมินสภามหาวิทยาลัย
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
โดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายนอก
LOGO โครงการประชุมสัมมนาถ่ายทอดนโยบาย ของมหาวิทยาลัยสู่ ผู้บริหารระดับหัวหน้า ภาควิชา สาขาวิชา “70 ปี มหาวิทยาลัยศิลปากร : โอกาสและ ศักยภาพการเป็นผู้นำ.
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
การทำงานสนับสนุนงาน PP ของศูนย์วิชาการเขต
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
27 ตุลาคม 2551 ณ ศูนย์ประชุมอุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย
กลุ่มที่ สถาบันที่มี IBC
การบริหารจัดการความเสี่ยงของสหกรณ์
การตรวจสอบ การตรวจสอบ คือ กระบวนการที่เป็นระบบ
วัตถุประสงค์การเชื่อมโยงเครือข่าย
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การเสริมสร้างความเข้มแข็งของระบบบัณฑิตศึกษา
ลักษณะและประเด็นวิจัย สำหรับคณาจารย์สถาบันอุดมศึกษา
การจะดการความรู้ด้านวิชาการ (Academic Knowledge Management : AKM)
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
Competency Phatthalung Provincial Center for Skill Development.
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
การขับเคลื่อนองค์กรไร้พุง
1. การดำเนินงานในรูปแบบคณะกรรมการ/คณะทำงาน
เครื่องมือและเทคนิคการทำงานแบบมีส่วนร่วมของชุมชน
องค์ประกอบ/กระบวนงานด้านการคุ้มครองเด็ก ในระดับจังหวัดสมุทรสาคร
ผู้เชี่ยวชาญด้านโปรแกรมระบบบัญชีสหกรณ์
การบริหารความเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง ความเสี่ยง (RISK)
ผศ.ดร.กัลยาณี คูณมี ทีมที่ปรึกษาสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
1 (ร่าง) ระเบียบคณะกรรมการบริหารกองทุน ( ชื่อกองทุน ) ว่าด้วยการเสนอ และการพิจารณาอนุมัติโครงการ.
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและ โอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนา คุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต เขต 8 นครสวรรค์ นครสวรรค์ กำแพงเพชร อุทัยธานี
การบริหารกิจกรรม วิจัยสถาบัน  คณะกรรมการวิจัย สถาบัน  อธิการบดี  ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก  ผู้บริหารระดับสูงของ มหาวิทยาลัย.
กลุ่มที่ 5 : บุคคลที่มีการเรียนรู้ผิดปกติ
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
ขั้นตอนการบริหารกิจกรรม 5ส
มาตรฐานการวัด การประเมินและ การประกันคุณภาพภายใน
มาตรฐานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
มาตรฐานการควบคุมภายใน
จุดอ่อน คณะกรรมการศูนย์ฯ ได้รับเบี้ยประชุมน้อย ขาดสวัสดิการ
ระบบและกลไก การดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาในกลุ่มนักศึกษา วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดขอนแก่น LOGO.
อาจารย์ระดับอุดมศึกษา รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
การบรรยายความรู้เรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
วิธีการเขียนรายงานการประเมิน
Point of care management Blood glucose meter
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
บทบาทนายหมายเลข ๑ ผู้บังคับบัญชา ผู้บริหาร ผู้นำ ผู้ประสานงาน.
แผนการดำเนินงาน ของศูนย์กฎหมาย ปีงบประมาณ พ.ศ กรมควบคุมโรค
ข้อเสนอเชิงนโยบาย  การเตรียมเอกสารวิชาการรับใช้สังคม นักวิชาการยังต้องการ “พี่เลี้ยง” ที่จะช่วยเติม มุมมองด้านวิชาการ มหาวิทยาลัยควรร่วมมือกับ กลไกสนับสนุนที่มีอยู่
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
โรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน
กลุ่มที่ 5 และกลุ่มที่ 12. สรุปกระบวนการและ ข้อเสนอแนะ การนิเทศ รพ. สต. รอบที่ 1 เป็นแนวคิดที่เน้นการนิเทศงานแบบ กระบวนการทำงานของแต่ละพื้นที่ ซึ่งไม่มีรูปแบบตายตัว.
การบริหารงานวิชาการ : ในมิติของการประเมินผล
จุดเน้น ด้านการบริหารจัดการ
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กลุ่มที่ 1 สถาบันที่มี IBC

SWOT การดำเนินงานของ IBC มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

สถาบันที่มี IBC Strength Weakness กรรมการมีความรู้ ความเชี่ยวชาญ ประสบการณ์ และติดตามการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีอย่างต่อเนื่อง มีข้อมูลห้องปฏิบัติการเพื่อประกอบการพิจารณาประเมินโครงการ มีห้องปฏิบัติการระดับ BSL-1, BSL-2 Weakness องค์ประกอบของคณะกรรมการไม่ครอบคลุม (ม.อุบลฯ)/ ขาดแผนสร้างความเชี่ยวชาญของคณะกรรมการ นโยบายของสถาบันไม่เอื้อต่อการดำเนินงาน - ไม่มีการกำหนดเป็นนโยบายที่ชัดเจน/ ขาดงบประมาณในการดำเนินงาน/ แรงจูงใจในการทำงานของคณะกรรมการ ทำให้ไม่เกิดกิจกรรมตามต้องการ (การกำจัด waste, คู่มือต่างๆ, การประชาสัมพันธ์เพื่อให้นักวิจัยเข้าใจ ตระหนัก และปฏิบัติตาม, การอบรม, การออกระเบียบเพื่อเป็นกลไกในการควบคุมดูแล) ขาด Facility ห้องปฏิบัติการในระดับ BSL-3 ทำให้ขาดโอกาสในการทำวิจัย, เครื่องมือส่วนกลาง ขาดการรวบรวมข้อมูลงานวิจัยด้าน r-DNA ในสถาบัน (ยกเว้น มทส.) ขาดความร่วมมือจากหน่วยงานให้ทุน

สถาบันที่มี IBC Oppotunity Threat มีนักวิจัยรุ่นใหม่ที่มีความรู้เฉพาะทาง มีความกระตือรือร้น ทำให้เกิดความตระหนักแก่นักวิจัยในเรื่องความรับผิดชอบต่อชุมชนและสังคม การมี IBC จะมีส่วนช่วยให้เกิดการเรียนรู้ รับทราบข้อมูล และสร้างความเชือมั่นให้แก่สังคม ข้อกำหนดจากหน่วยงานให้ทุน Threat ขาดความร่วมมือจากนักวิจัย โดยมองว่าเป็นการเพิ่มภาระงาน (ที่ทราบข้อมูลแล้ว) พรบ.ยังไม่บังคับใช้ ทำให้ IBC ไม่มีอำนาจในการดำเนินงาน ขั้นตอนตาม พรบ. อาจทำให้นักวิจัยหันไปทำงานวิจัยด้านอื่นแทน

สิ่งที่ IBC สามารถดำเนินการได้ทันที การจัดการระบบในการ share facility ในการทำวิจัย - optional การพิจารณาโครงสร้างคณะกรรมการให้มีความเหมาะสม การจัดการอบรม หรือสร้างมาตรฐานผ่านผู้เชี่ยวชาญที่มีอยู่ในสถาบัน การสำรวจและกำหนดมาตรฐานห้องปฏิบัติการ โดยมหาวิทยาลัย

ความช่วยเหลือต่อสถาบันที่ยังไม่มีการจัดตั้ง IBC ร่วมเป็นคณะกรรมการจากหน่วยงานภายนอก ให้คำปรึกษา, การอบรมต่างๆ ช่วยในการประชาสัมพันธ์ ให้ข้อมูล

ความช่วยเหลือจากส่วนกลาง การนำเสนอต่อผู้บริหารระดับสูง ผ่าน ทปอ. (ทส. และ BIOTEC) หรือกำหนดเป็น KPI ผ่านการระบุว่า “สถาบันจะต้องมีระบบในการควบคุมดูแลความปลอดภัยในการวิจัยที่ดี” การตั้งเป็นข้อกำหนดจากหน่วยงานให้ทุน (สกอ.) การอบรม และให้คำปรึกษาเชิงเทคนิค

หัวข้อการอบรม การอบรมเพื่อให้เกิดความตระหนักสำหรับสถาบันที่ยังไม่มี IBC 14 – 17 ต.ค. ม.มหาสารคาม การอบรมความเชี่ยวชาญในการประเมินโครงการ 1 ครั้ง และการประเมินห้องปฏิบัติการในแต่ละสถาบัน การเยี่ยมชมห้องปฏิบัติการในแต่ละระดับเพื่อเป็นตัวอย่าง มทส. มีตัวอย่างโครงการที่สามารถนำมาเป็นตัวอย่างในการประเมินได้