วิชา มรดก โดย เมทินี ชโลธร
แนวทางการบรรยาย จันทร์ที่ ๒๗ พฤษภาคม ถึง จันทร์ที่ ๙ กันยายน ๒๕๕๖ เวลา ๑๙.๐๐ ถึง ๑๙.๕๐ นาฬิกา เว้นจันทร์ที่ ๒๒ กรกฎาคม และจันทร์ที่ ๑๒ สิงหาคม ๒๕๕๖ รวม ๑๔ ครั้ง
- แนวทางการเรียนการสอน การสอบ - ภาพรวมของวิชามรดก ครั้งที่ ๑ - แนะนำผู้สอน - แนวทางการเรียนการสอน การสอบ - ภาพรวมของวิชามรดก - ประเด็นสำคัญในวิชาครอบครัวที่เกี่ยวข้องเชื่อมโยงกับวิชามรดก
-การตกทอดแห่งทรัพย์มรดก -ความตายของเจ้ามรดก ครั้งที่ ๒ -ความหมายของกองมรดก -การตกทอดแห่งทรัพย์มรดก -ความตายของเจ้ามรดก -ความหมายและความสามารถในการเป็นทายาท
ครั้งที่ ๓ -ความหมายของพินัยกรรม -ลักษณะของพินัยกรรม -ความสามารถของผู้ทำพินัยกรรม -ความสามารถของผู้รับพินัยกรรม -บุคคลต้องห้ามมิให้เป็นผู้รับพินัยกรรม
ครั้งที่ ๔ แบบของพินัยกรรม -พินัยกรรมแบบธรรมดา -พินัยกรรมแบบเขียนเองทั้งฉบับ -พินัยกรรมแบบเอกสารฝ่ายเมือง -พินัยกรรมแบบเอกสารลับ -พินับกรรมแบบทำด้วยวาจา -พินัยกรรมแบบทำตามกฎหมายต่างประเทศ -พินัยกรรมในภาวะการรบหรือการสงคราม
-การเพิกถอนพินัยกรรมหรือข้อกำหนดพินัยกรรม ครั้งที่ ๕ -การเพิกถอนพินัยกรรมหรือข้อกำหนดพินัยกรรม -การตกไปแห่งพินัยกรรมหรือข้อกำหนดพินัยกรรม -ความเสียเปล่าแห่งพินัยกรรมหรือข้อกำหนดพินัยกรรม
ครั้งที่ ๖ ทายาทโดยธรรม - ทายาทโดยธรรมประเภทญาติ - ทายาทโดยธรรมประเภทคู่สมรส
- การแบ่งมรดก - การรับมรดกแทนที่ ครั้งที่ ๗ - การแบ่งมรดก - การรับมรดกแทนที่
ครั้งที่ ๘ - กรณีพระภิกษุ - พระภิกษุเป็นทายาท - พระภิกษุเป็นเจ้ามรดก -บทบัญญัติเกี่ยวกับวัดและแผ่นดิน
การถูกกำจัดมิให้รับมรดก การถูกกำจัดเพราะยักย้ายปิดบังทรัพย์มรดก ครั้งที่ ๙ การถูกกำจัดมิให้รับมรดก การถูกกำจัดเพราะยักย้ายปิดบังทรัพย์มรดก การถูกกำจัดเพราะเป็นผู้ไม่สมควร ผลของการถูกกำจัด
ครั้งที่ ๑๐ การตัดมิให้รับมรดก - ผลของการถูกตัดมิให้รับมรดก - การถอนการตัดมิให้รับมรดก การสละมรดก - หลักเกณฑ์การสละมรดก - ผลของการสละมรดก
ครั้งที่ ๑๑ ผู้จัดการมรดก - การตั้งผู้จัดการมรดก - การจัดการมรดกของผู้จัดการมรดก - สิทธิและหน้าที่ของผู้จัดการมรดก - การรวบรวมทรัพย์มรดกและการชำระหนี้กองมรดก - การแบ่งปันทรัพย์มรดก - อายุความเกี่ยวกับการจัดการมรดก
- ประเภทของอายุความคดีมรดก ครั้งที่ ๑๒ อายุความมรดก - ความหมายของคดีมรดก - ประเภทของอายุความคดีมรดก
ครั้งที่ ๑๓ ☻เก็บตกจาก ๑๒ สัปดาห์ที่ผ่านมา ☻ตอบคำถามที่รวบรวมจาก ๑๒ สัปดาห์ที่ผ่านมา
ครั้งที่ ๑๔ ♥ทบทวนและเน้นปัญหาสำคัญในวิชามรดก ♥คำพิพากษาฎีกาที่น่าสนใจ ♥วิธีการตอบข้อสอบที่กระชับและตรงประเด็นคำถาม
ประเด็นจากวิชาครอบครัวที่เกี่ยวข้อง ของหมั้น /สินสอด สินส่วนตัว/สินสมรส การสมรส บิดากับบุตร
ของหมั้น / สินสอด ความหมายของการหมั้น ตาม ม. ๑๔๓๗ ของหมั้นเป็นของใคร ของหมั้น / สินสอด ความหมายของการหมั้น ตาม ม. ๑๔๓๗ ของหมั้นเป็นของใคร สินสอดเป็นของใคร ค่าทดแทนเมื่อมีการผิดสัญญาหมั้น กรณีใดที่ตกทอดถึงทายาท ม. ๑๔๔๐, ๑๔๔๗ วรรคสอง
สินส่วนตัว / สินสมรส สินส่วนตัว ม. ๑๔๗๑ ม. ๑๔๗๒ สินสมรส ม. ๑๔๗๔
การสมรส ความสมบูรณ์ของการสมรส การสมรสซ้อน ความเป็นโมฆะของการสมรส การสิ้นสุดของการสมรส
บิดามารดากับบุตร บุตรที่เกิดจากบิดามารดาจดทะเบียนสมรส - การสมรสที่เป็นโมฆะ - การสมรสซ้อน - การสมรสที่เป็นโมฆียะ - เกิดจากหญิงหม้าย
บุตรที่เกิดจากบิดามารดาไม่ได้จดทะเบียนสมรสกัน บิดามารดาสมรสกันภายหลัง บิดาจดทะเบียนว่าเป็นบุตร ศาลพิพากษาว่าเป็นบุตร บุตรนอกกฎหมายที่บิดารับรองแล้ว ☻บุตรบุญธรรม